DSpace Repository

ความสัมพันธ์ระหว่างการรับประทานอาหารเช้ากับความเหนื่อยล้าในช่วงการเรียนภาคเช้าของนิสิตคณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

Show simple item record

dc.contributor.author ลักษณาพร กรุงไกรเพชร
dc.contributor.author ชัยชน โพธิ์ชัย
dc.contributor.author ธัญธร นพเก้ารัตนมณี
dc.contributor.author นทวรรณ สุขใส
dc.contributor.author ผกามาศ แซ่ฮ้อ
dc.contributor.author อโณทัย จตุพร
dc.contributor.author จุฑามาศ ช่อไสว
dc.contributor.author สิวินีย์ บัวทอง
dc.contributor.author เศรษฐชัย ฉัตรชุมสาย
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:45:53Z
dc.date.available 2019-03-25T08:45:53Z
dc.date.issued 2554
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/162
dc.description.abstract การวิจัยนี้เป็นการวิจัยโดยการสังเกตเชิงวิเคราะห์ เพื่อศึกษาผลความเพียงพอของอาหารเช้าที่รับประทานกับความรู้สึกเหนื่อยล้าในช่วงการเรียนภาคเช้าของนิสิตคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาทั้งหมด ชั้นปีที่ 1-3 ปีภาคการศึกษาปลาย ในปีการศึกษา 2552 จำนวน 88 คน โดยแบ่งนิสิตแพทย์เป็นสองกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่รับประทานอาหารเช้าอยู่ในเกณฑ์เพียงพอและกลุ่มที่รับประทานอาหารเช้าอยู่ในเกณฑ์เพียงพอ จำนวน 32 คน และกลุ่มที่รับประทานอาหารเช้าอยู่ในเกณฑ์ไม่เพียงพอ จำนวน 56 คน จากการคำนวณโดยใช้เกณฑ์ของ Institute of Medicine. Washington, DC: National Academies Press และความรู้สึกเหนื่อยล้าโดยใช้แบบประเมินความเหนื่อยล้าของ IOWA Fatigue Scale และคำนวณโดยใช้สถิติทดสอบซี ผลการศึกษาพบว่า ผู้เข้าร่วมวิจัยที่รับประทานอาหารเช้าเพียงพอ ร้อยละ 36.4 ผู้เข้าร่วมวิจัยที่รับประทานอาหารเช้าไม่เพียงพอ ร้อยละ 63.6 ผู้เข้าร่วมวิจัยมีความเหนื่อยล้าในกลุ่มรับประทานอาหารเพียงพอ ร้อยละ 46.9 เมื่อทดสอบทางสถิติ พบว่า ความเพียงพอของการรับประทานอาหารเช้าไมีมีความสัมพันธ์กับความเหนื่อยล้าในช่วงเรียนภาคเช้าของนิสิตคณะแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา (Z=09) ส่วนปัจจัยอื่นที่อาจจะมีผลเกี่ยวข้องกับความเหนื่อยล้า ได้แก่ การพักผ่อนไม่เพียงพอ ร้อยละ 87.50 การออกกำลังกายไม่เพียงพอ 65.91 การมีงานสะสม ร้อยละ 63.64 สรุปผลการศึกษา การรับประทานอาหารเช้าไม่มีความสัมพันธ์กับความเหนื่อยล้าในช่วงเรียนภาคเช้าของนิสิตคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาอย่างไรก็ตามยังมีปัจจัยอื่นที่อาจส่งผลต่อความเหนื่อยล้า ได้แก่ ระยะเวลาในการนอน การออกกำลังกายน้อย และการมีงานสะสม th_TH
dc.description.sponsorship ผลงานวิจัยฉบับนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา งบประมาณเงินได้ ประจำปีงบประมาณ 2554 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ความพร้อมทางการเรียน th_TH
dc.subject นักศึกษา - - ทัศนคติ - - แง่โภชนาการ th_TH
dc.subject นักศึกษา - - โภชนาการ th_TH
dc.subject บริโภคนิสัย - - ผลกระทบทางสรีรวิทยา th_TH
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์ - - วิจัย th_TH
dc.subject อาหารเช้า th_TH
dc.title ความสัมพันธ์ระหว่างการรับประทานอาหารเช้ากับความเหนื่อยล้าในช่วงการเรียนภาคเช้าของนิสิตคณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. th_TH
dc.title.alternative Relationship between breakfast consumption and fatigue in the morning class among medical students, Burapha University en
dc.type Research th_TH
dc.year 2554
dc.description.abstractalternative The analytic observational research was conducted in the relationship between adequate breakfast consumption and the fatigue in the morning classroom among 1 st to 3 rd year allmedical students who studied in Burapha University in second semester academic year 2009. The 88 medical students were divided in 2 groups by the criteria of adequate breakfast consumption. There were 32 students in the adequate group and the others were in the inadequate group. The caloric energy of food consumption among them was evaluated by the Institute of Medicine, Washington, DC: National Academies Press protocol and the fatigues were assessed by the IOWA Fatigue scale. Lastly, Z-test was used. The results of the study revealed that the adequate breakfast intake group had 36.4 percentage and another group had 63.6 percentage. and another group had 63.6 percentage. The adequate breakfast intake group had percentage of fatigue 46.9. The statistical analysis found that there was no relationship between the adequate breakfast consumption and the fatigue in the morning class among medical atudents of Burapha university (Z=.09). The other factors that might be in influential in this study were poor sleeping time (p=.00), irregular exercise (p=.00) and cumulative class-workload (p=.01). This study concluded that there was no relationship between the adequate breakfast consumption and the fatigue in the morning class among medical students. But they had some influential factors which may be concerned for examples; sleeping time, exercise and cumulative workload. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account