DSpace Repository

ความหลากหลายทางชีวภาพของกลุ่มสัตว์ทะเลที่มีโลโฟฟอร์ (Lophophorates) บริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของไทย ประจำปี 2556

Show simple item record

dc.contributor.author สุเมตต์ ปุจฉาการ
dc.contributor.author คมสัน หงภัทรคีรี
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:07:06Z
dc.date.available 2019-03-25T09:07:06Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1480
dc.description.abstract คณะผู้วิจัยทำการสำรวจและเก็บตัวอย่างกลุ่มสัตว์ทะเลที่มีโลโฟฟอร์ บริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกประจำปีงบประมาณ 2556 โดยสำรวจบริเวณเกาะเหลือมน้อย หมู่เกาะไผ่, หาดเทียน หมู่เกาะแสมสาร, หมู่เกาะล้าน และเกาะท้ายตาหมื่น หมู่เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี ระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2555 ถึงเดือนมกราคม 2557 โดยการดำน้ำแบบ Scuba diving เดินสุ่มสำรวจ ในเวลากลางวันตั้งแต่ชายฝั่งทะเลออกไปจนถึงขอบนอกแนวในแต่ละระบบนิเวศ จากการสำรวจพบตัวอย่างสัตว์ทะเลที่มีโลโฟฟอร์ในไฟลัมไบรโอซัว (Bryozoa) จำนวน 2 คลาส คือ คลาส Gymnolaemata และ Stenolaemata 2 อันดับ คือ Cheilostomata และ Cyclostomata. 12 วงศ์ ได้แก่ Antroporidae, Calloporidae, Electridae, Escharinidae, Exechonellidae, Microporellidae, Onychocellidae, Phidoloporidae, Savignyellidae, Smittinidae, และTubuliporidae. 12 สกุล ได้แก่ Antropora, Cauloramphus, Puellina,Conopeum ina, Bryopesanser, Exechonella, Microporella, Smittipora, Rhynchozoon, Savignyella, Parasmittina และTubulipora รวมทั้งหมด 37 ชนิด ไบรโอซัวที่พบจากการศึกษามีรูปแบบการเจริญแบบเคลือบเป็นกลุ่มเด่นและการแพร่กระจายเกาะติดบนเปลือกหอย เศษซากหรือวัตถุใต้น้ำในแนวปะการัง ไบรโอซัวที่พบมากที่สุดคือ วงศ์ Antroporidae (13 ชนิด,35%) รองลงมาคือ Family Microporellidae (6 ชนิด, 16%) รองลงมาคือ Family Phidoloporidae (5 ชนิด, 14%) นอกจากนี้ยังมีตัวอย่างไบรโอซัวที่ไม่สามารถจำแนกชนิดได้อีกไม่น้อยกว่า 80 ชนิด การจำแนกชนิดไม่สามารถจำแนกลงถึงระดับชนิดได้เนื่องจากเอกสารอ้างอิงมีอยู่จำกัด ลักษณะทางสัณฐานวิทยาของตัวอย่างไม่สอดคล้องกับชนิดในข้อมูลและเอกสารอ้างอิง และยังไม่ได้รับการยืนยันชนิดจากนักวิจัยสนับสนุน th_TH
dc.description.sponsorship โครงการวิจัยทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปี 2556 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ไบรโอซัว th_TH
dc.subject อนุกรมวิธาน th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title ความหลากหลายทางชีวภาพของกลุ่มสัตว์ทะเลที่มีโลโฟฟอร์ (Lophophorates) บริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของไทย ประจำปี 2556 th_TH
dc.title.alternative Marine biodiversity of lophophorates along the eastern coast of gulf of Thailand en
dc.type งานวิจัย
dc.year 2557
dc.description.abstractalternative Species diversity of marine lophophorates had been investigated along the coast of Chon Buri province,the eastern coast of Thailand. The collections were conducted 4 times during November, 2012 by using Scuba diving , skin diving and walk census during daytime, randomly throughout collection sites. The result of lophophorates were found only phylum Bryozoa with yielded 37 species, from 2 classes (Gymnolaemata and Stenolaemata), 2 orders (Cheilostomata and Cylostomata), 12 families riamely antroporidae, Calloporidae, Cribrilinidae, Electridae, Exechonellidae, Microporellidae,Onychocellidae, phidoloporidae, Savignyellidae, Smittinidae, and tubuliporidae and 12 genera namely Antropora, Cauloramphus, puellina, ina, Bryopesanser, Exechonella, Microporella, smittipora Rhynchozoon Savignyella Parasmittina and Tubulipora The most abundant sponge groups in the area were family Antroporidae (35 spp., 35%) follow by Family Microprellidae (6 spp., 16%) and family phidoloporidae (5 spp., 14%) The most abundance of bryozoan growth form is encrusting with attached on shells and rock substrates The results also showed more then 80 unknown species which cannot identified. Ln addition, the main problems of this study were lack of reference and information materials, the morphology characters of bryozoan ere not compatible to the reference and the voucher specimens had not been confirm by the foreign expert en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account