DSpace Repository

การค้นหารงควัตถุที่ออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากจุลินทรีย์ทะเล.

Show simple item record

dc.contributor.author รวิวรรณ วัฒนดิลก
dc.contributor.author รัตนาภรณ์ ศรีวิบูลย์
dc.contributor.author จงกลณี จงอร่ามเรือง
dc.contributor.author ปาริชาติ นารีบุญ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:07:04Z
dc.date.available 2019-03-25T09:07:04Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1450
dc.description.abstract การศึกษาต้านอนุมูลอิสระของสารสัดหยาบเอทธิลอะซิเตทชั้นเซลล์และชั้นน้ำเลี้ยงจากแอคติโนมัยซีท 28 ไอโซเลท และเชื้อรา 1 สายพันธุ์ ที่แยกจากดินตะกอนชายฝั่งและดินป่าชายเลนในเขตจังหวัดชลบุรี จันทบุรี และนครศรีธรรมราช จากการวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธีโครมาโทกราฟฟีผิวบาง DPPH และ ABTS ที่ 50 เปอร์เซ็นต์ (IC₅₀) ในช่วง 49.11±2.37 – 400 และ 14.25±2.82 – 243.94±14.38 ไมโครกรัมต่อมิลลิเมตร ตามลำดับ โดยสารสกัดแอคติโนมัยซีทสายพันธุ์ PL7-4, PL2-3 และ PL2-5 มีฤทธิ์จำกัดอนุมูลอิสระ ABTS ดีที่สุด โดยมีค่า IC₅₀เท่ากับ 49.11±2.37, 56.63±0.39 และ 64.79±1.18 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ขณะที่สายพันธุ์ PL4-6 และ PL2-3 ออกฤทธิ์กำจัดอนุมูลอิสระ ABTS ดีที่สุด โดยมีค่า IC₅₀เท่ากับ14.25±2.82 และ 22.17±0.72 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลำดับ ขณะที่สารสกัดหยาบชั้นเซลล์ของเชื้อราสายพันธุ์ RB-POR2-1 ที่แยกจากฟองน้ำทะเล ออกฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ DPPH และ ABTS ดีที่สุดมีค่า IC₅₀ เท่ากับ 100.78±1.71 และ 41.26±0.4 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ตามลำดับ th_TH
dc.description.sponsorship ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ผ่านงบประมาณแผ่นดินประจำปีงบประมาณ 2556
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject จุลินทรีย์ทะเล th_TH
dc.subject รงควัตถุ th_TH
dc.subject อนุมูลอิสระ th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title การค้นหารงควัตถุที่ออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากจุลินทรีย์ทะเล. th_TH
dc.title.alternative Discovery of bioactive pigments from marine microorganisms. en
dc.type Research
dc.year 2557
dc.description.abstractalternative The present research is focused on the screening of antioxidant activities of intracellular and extracellular ethyl acetate crude extracts of twenty-eight actinomycetes and one of fungi isolated from soil sample collected at the coastal and mangrove regions in Chonburi, Chantaburi and Nakhon Si thamarat provinces. All extracted samples were evaluated for antioxidant activities with TLC-DPPH,DPPH radical scavenging assay and ABTS radical scavenging assay. The results showed that the extracts have higher antioxidant activities as compared to those of intracellular extracts which measured by DPPH and ABTS assay. The DPPH and ABTS radical scavenging activities of the extracts were observed with an IC₅₀ in a range of 49.11±2.37 to 400.00 and 14.25±2.82 to 243.94±14.38 μg/mL, respectively. The strains PL7-4, PL2-3 and PL2-5 showed the highest DPPH activity at IC₅₀ value of 49.11±2.37, 56.63±0.39 and 64.79±1.18 μg/mL respectively whereas PL4-6 and PL2-3 displayed the strongest ABTS activity with an IC₅₀ value of 14.25±0.72 μg/mL. In case of the intracellular extracts, the fungi stain RB-POR2-1 showed the moderate OPPH and ABTS activities with an IC₅₀ value of 100.78±1.71 และ 41.26±0.4 μg/mL,respectively en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account