dc.contributor.author |
กิตติ อรุณจรัสธรรม |
|
dc.contributor.author |
ปัญญา อรุณจรัสธรรม |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:07:03Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:07:03Z |
|
dc.date.issued |
2557 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1421 |
|
dc.description.abstract |
การผ่าตัดกระดูกต้นคอจำเป็นต้องอาศัยประสบการณ์ของแพทย์ผู้ทำการผ่าตัดและเครื่องมือนำวิถี (Navigator) ในการผ่าตัด ทำให้การผ่าตัดกระดูกต้นคอถูกจำกัดในโรงพยาบาลขนาดใหญ่ที่มีเครื่องมือพร้อมเท่านั้น โครงการนี้มีจุดประสงค์เพื่อวิเคราะห์หาข้อมูลทางภายวิภาคของกระดูกต้นคอข้อที่ 3-7 ของกลุ่มคนไทย จำนวน 20 รายเพื่อนนำมาเป็นข้อมูลที่ใช้ในการออกแบบอุปกรณ์นำร่องการเจาะสกรูกระดูกต้นคอ
จากการออกแบบเครื่องต้นแบบอุปกรณ์นำร่องการเจากสกรูกระดูกต้นคอด้วยโปรแกรมโซลิดเวิร์คและทำการขึ้นด้วยเทคโนโลยีการขึ้นรูปต้นแบบรวดเร็ว จากนั้นทำการทดสอบโดยทดลองเจาะโมเดลกระดูกต้นคอซึ่งหล่อขึ้นรูปด้วยวัสดุโพลียูรีเทน พบว่าสามารถนำร่องการเจาะสกรูในตำแหน่งเพดิคัลได้ทั้งหมด 100 เปอร์เซ็นต์ จากนั้นทำการทดลองการเจาะสกรูกระดูกต้นคอดังกล่าวมาตรวจสอบหาค่าความคลาดเคลื่อนในการเจาะสกรูกระดูกในตำแหน่งกลางเพดิคัล ซึ่งผลการตรวจสอบค่าความผิดพลาดของการเยื้องศูนย์กลางจากเพดิคัลพบว่า มีการเจาะสกรูคลาดเคลื่อนจากจุดศูนย์กลางของเพดิคัลในกระดูกตั้นตอน้อยที่สุด คือไม่คลาดเคลื่อนเลย และคลาดเคลื่อนมากที่สุดเพียง 60.67 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งเครื่องต้นแบบอุปกรณ์นำร่องการเจาะสกรูกระดูกต้นคอข้อที่ 3-7 เหมาะจะนำไปช่วยศัลยแพทย์เพื่อใช้ในการผ่าตัดต่อไป |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
กระดูก - -โรค - - การรักษา |
th_TH |
dc.subject |
กระดูกต้นคอ |
th_TH |
dc.title |
การออกแบบอุปกรณ์นำร่องการเจาะสกรูที่กระดูกต้นคอ ข้อที่ 3-7 |
th_TH |
dc.title.alternative |
Design the prototype of drill guide for the C-spine C3-C7 |
en |
dc.type |
งานวิจัย |
|
dc.year |
2557 |
|
dc.description.abstractalternative |
The cervical spine surgery was required a surgeon who had an experience and navigation devices. For this limitation, the cervical spine surgery had only in the the large hospital. This project aims to evaluate the data of the 20 Thai cervical spines C3-C7 to designs the prototype of drill guide for the cervical spine.
The prototype of drill guide was designed by the Solidworks CAD software and was constructed by rapid prototyping technology. The prototype of drill guide was tested by drilling the cervical models, which was casted from polyurethane material. The results were show 100 percent of drill hole in the pedicle region. The eccentricity between the center of pedicle region and center of drill hole were shown 0 percent of the least deviation and 60.67 percent for the most deviation. The prototype of drill guide for the cervical spine was a useful device to help the surgeon to insert the screw in the pedicle region. |
en |