DSpace Repository

โครงการวิจัยการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคระบาดในการผลิตแก้วมังกรคุณภาพ.

Show simple item record

dc.contributor.author เครือวัลย์ ดาวงษ์
dc.contributor.author ยศพล ผลาผล
dc.contributor.author วิจิตรา โหราเรือง
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:07:03Z
dc.date.available 2019-03-25T09:07:03Z
dc.date.issued 2555
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1415
dc.description.abstract สำรวจและแยกเชื้อราสาเหตุโรคกิ่งและผลเน่าของแก้วมังกรในพื้นที่ตำบลโขมง อำเภอท่าใหม่ จังหวัดจันบุรี พบเชื้อรา Dothiorella sp. จากการตรวจภายในกล้องจุลทรรศน์โดยตรง ส่วนการแยกเชื้อด้วยวิธี Tissue transplanting method พบเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides, Colletotrichum sp., Phomopisi sp. and Dothiorella sp. โดยพบเชื้อรา Dothiorella sp. มี ปริมาณมากที่สุดทั้งในกิ่งและในผล มีค่าเฉลี่ยร้อยละของเชื้อราที่ตรวจพบ 50 และ 35.42 ตามลำดับ ผลการศึกษาระยะการเข้าทำลายของเชื้อราสาเหตุโรค ตั้งแต่ระยะดอกถึงผลแก่ พบเชื้อราสาเหตุโรค 6 ชนิดคือ C. gloeosporioides, Colletotrichum sp., Phomopisi sp., Bipolaris cactivora, Curvularia sp. and Dothiorella sp. พิสูจน์การเกิดโรคด้วยวิธี Koch’s paustulation บนผลแก้วมังกร พบเชื้อราทั้ง 6 ชนิดสามารถทำให้เกิดแผลที่แก้วมังกรได้ โดยในระยะดอก พบปริมาณเชื้อรา Dothiorella sp. มากที่สุดร้อยละ 25.86 ในระยะผลอ่อน พบปริมาณเชื้อรา Colletotrichum sp. มากที่ สุดร้อยละ 58.65 ส่วนในระยะผลแก่พบปริมาณเชื้อรา C. gloeosporioides มากที่สุดร้อยละ 43.67 และพบเชื้อรา B. cactivora ในระยะดอกเท่านั้น จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าเชื้อโรคสามารถเข้าทำลายได้ตั้งแต่ระยะดอกเป็นต้นไป ผลการทดสอบประสิทธิภาพสารเคมี 3 ชนิดคือ Copper oxychloride, prochloraz, iprodione และเชื้อราปฏิปักษ์ Trichoderma harzianum โดยการพ่นสารเคมีสลับระหว่างสารชนิดสัมผัสและสารชนิดดูดซึม ตั้งแต่ก่อนแก้วมังกรออกดอกจนถึงระยะผลอ่อนรวม 6 8iyh’ ทำการทดลองในแปลงเกษตรกรจำนวน 4 แปลง พบกรรมวิธีพ่นสาร Copper oxychloride สลับ Prochloraz มี ประสิทธิภาพในการควบคุมโรคมากที่สุด มีร้อยละความรุนแรงของโรคน้อยกว่ากรรมวิธีพ่นสารเคมีชนิดอื่น นอกจากนี้ยังพบว่าการเขตกรรมตัดแต่งกิ่งเป็นโรคออกจากแปลงเพียงอย่างเดียว โดยไม่พ่นสารเคมีใดๆ สามารถควบคุมโรคได้ มีร้อยละความรุนแรงของโรคน้อยกว่ากรรมวิธีเกษตรกรที่ไม่มีการตัดแต่งกิ่งและไม่พ่นสารเคมี จากการศึกษาในครั้งนี้แสดงในเห็นว่า การลดแหล่งสะสมโรคก่อนแก้วมังกรออกดอก และการวางแปรแกรมพ่นสารเคมีตลอดระยะการพัฒนาของผลสามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรคได้ th_TH
dc.description.sponsorship ภายใต้โครงการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนฐานราก ประจำปีงบประมาณ 2554 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี th_TH
dc.subject โรคระบาด th_TH
dc.subject แก้วมังกร th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title โครงการวิจัยการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคระบาดในการผลิตแก้วมังกรคุณภาพ. th_TH
dc.title.alternative Prevention and disease problem management of dragon fruit. en
dc.type งานวิจัย
dc.year 2555
dc.description.abstractalternative A survey and isolation of the pathogenic fungi from stem and fruit rot of dragon fruit in Tambon Kamong, Amphur Thamai, Chantaburi provine were performed. The fungal causal agent observed under microscope was Dothiorella sp. However, Colletotrichum gloeosporioides, Colletotrichum sp., Phomopisi sp. and Dothiorella sp. were isolated from infected stem and fruit rot by tissue transplanting technique. Dothiorella sp. was the most infect pathogen from stem and fruit rot that show in average 50.00 and 35.42 percent respectively. Infect stage of pathogen on developed dragonfruit was studies. Six pathogens such as Colletotrichum sp., C. gloeosporioides, ., Phomopisi sp., Bipolaris cactivora, Curvularia sp. and Dothiorella sp. were isolated from flowering to maturing of dragon fruit. Pathogenicity test of six fungal pathogens by Koch’s postulation on dragon fruit revealed fruit rot lesions. The most infected pathogen in flowering was Dothiorella sp. at 25.86 percent. Colletotrichum sp. and C. gloeosporioides were hightest infected in immature and maturing at 58.65 and 43.67 percent respectively. However B. cactivora was performed at flowering only. The results showed that pathogen can be destroyed from flowering and so on. Efficact test of three fungicides such as copper oxychloride, prochloraz, iprodione and antagonistic fungi Trichoderma harzianum by spraying between contact fungicide and systemic fungicide during flowering to immature including six times at four orchards. The result showed copper oxychloride and Prochloraz had the hightest effectivrly for controlling of fruit with percent lower than other fungicide of disease severity. Furthermore cultural practices such as pruning and orchard sanitation only had percent lower than non-cultural practices of disease severity. Result revealed reducing debris before flowering and using fungicide application programs is strongly associated with effective protection of fruit development. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account