DSpace Repository

ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมพัฒนาการบริการสาธารณะด้านโครงสร้างพื้นฐานของประชาชน เทศบาลตำบลธาตุทอง อำเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.advisor นันทวัน อินทชาติ
dc.contributor.author อรวรรณ สังฆวัตร์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ
dc.date.accessioned 2024-02-05T06:51:28Z
dc.date.available 2024-02-05T06:51:28Z
dc.date.issued 2558
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12790
dc.description งานนิพนธ์ (รป.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2558
dc.description.abstract การศึกษาเรื่อง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมพัฒนาการบริการสาธารณะด้นโครงสร้างพื้นฐานของประชาชน เทศบาลตำบลธาตุทอง อำเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาการมีส่วนร่วมในการพัฒนาบริการด้านสาธารณะด้านโครงสร้างพื้นฐาน 2) ศึกษาความต้องการของประชาชนเกี่ยวกับการจัดทำบริการสาธารณะค้าน โครงสร้างพื้นฐาน 3) ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมพัฒนาการบริการสาธารณะด้านโครงสร้างพื้นฐานของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลธาตุทอง อำภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่าง คือ ประชาชนในเขตเทศบาล ตำบลธาตุทอง อำเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี จำนวน 381 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ แก่ความถี่ (Frequency) และร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าความเยี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลพื้นฐานส่วนบุคคลกับการมีส่วนร่วมพัฒนาการบริการสาธารณะด้านโครงสร้างพื้นฐานของ ประชาชน เทศบาลตำบลธาตุทอง อำเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี โดยสถิติค่า Chi-square ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 ผลการศึกษาความต้องการบริการสาธารณะด้าน โครงสร้างพื้นฐานของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลธาตุทอง อำเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี พบว่า โดยภาพรวมและทุกด้น อยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อจำแนกเป็นรายด้น อันดับที่ : ด้านการพัฒนาแหล่งน้ำให้สามารถกักเก็บน้ำได้ตลอดปี รองลงมาคือค้านการพัฒนาระบบสาธารณูปโภค ไฟฟ้า ประปาและการสื่อสาร การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำบริการสาธารณะด้านโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลธาตุทอง อำเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก อันดับที่ 1 ด้านผลประ โยชน์ รองลงมาคือ ค้านการตัดสินใจ ผลการการทดสอบความสัมพันธ์ พบว่า ปัจจัยเพศ ระดับการศึกษา และอาชีพไม่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมพัฒนาการบริการสาธารณะด้านโครงสร้างพื้นฐาน ส่วนปัจจัยอายุรายได้ต่อเตือนและระยะเวลาที่อาศัยในเขตเทศบาลตำบลธาตุทองมีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมพัฒนาการบริการสาธารณะค้านโกรงสร้างพื้นฐานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject เทศบาล -- ความพอใจของผู้ใช้บริการ
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารทั่วไป
dc.subject Humanities and Social Sciences
dc.subject เทศบาลตำบลธาตุทอง -- บริการสังคม -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
dc.subject บริการสาธารณะ -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
dc.subject บริการสาธารณะท้องถิ่น -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
dc.title ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมพัฒนาการบริการสาธารณะด้านโครงสร้างพื้นฐานของประชาชน เทศบาลตำบลธาตุทอง อำเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี
dc.title.alternative Factors relevant to public involvement in improving public service on basic infrastructure in Tatthong municipality, Borthong district, Chon Buri Province
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The study aimed to indentify public involvement in improving public service on basic infrastructure, public need forprovision of infrastructure-related services, and to identify factors relevant to public involvement in improving public service on basic infrastructure in Tatthong Municipality, Borthong District. The sample consisted of 381 residents in the Municipality and questionnaires were used to collect the data. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, and Chi-square at .05 level of statistical significance. The study revealed the highest need for provision of basic infrastructure, both overall and in each individual aspect. When each aspect was studied, the need of water source development to keep water all year round was ranked the highest, followed by needs of electricity, pipe water, and communication supply. Overall public involvement in the provision of public service on basic infrastructure was found to be in a high level, with the aspect of the sharedbenefits ranked the highest, followed by that of decision making. Gender, education, and occupation were found to be irrelevant to public development involvement, but age, monthly income and length of residency were found to be relevant at .05 level.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การบริหารทั่วไป
dc.degree.name รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account