dc.contributor.advisor |
สมพงษ์ ปั้นหุ่น |
|
dc.contributor.advisor |
สุเมธ งามกนก |
|
dc.contributor.author |
เกียรติศักดิ์ สังข์ด้วง |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2024-01-25T08:46:51Z |
|
dc.date.available |
2024-01-25T08:46:51Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/12654 |
|
dc.description |
ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2559 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยและพัฒนามีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเสริมสร้างศักยภาพครู ในการส่งเสริมงานอาชีพของนักเรียนและชุมชนโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่น และ 2) รับรองหลักสูตรฝึกอบรมเสริมสร้างศักยภาพครูในการส่งเสริม งานอาชีพของนักเรียนและชุมชนโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่นโดยจัดฝึกอบรม เป็นเวลา 20 ชั่วโมง ทำการติดตามหลังการฝึกอบรม 1 เดือน เพื่อรับทราบผลพัฒนาการและความคงทนความรู้ของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ความรู้ เจตคติ และทักษะทางอาชีพ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พนักงานครูเทศบาลเมืองระนอง นักเรียน และชุมชน จำนวน 212 คน ได้มาโดยการเลือกแบบสมัครใจ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ฉบับ ได้แก่ แบบทดสอบความรู้ แบบวัดเจตคติ และแบบประเมินทักษะ เครื่องมือ ทั้ง 3 ฉบับ มีความตรงเชิงเนื้อ และความเชื่อมั่นสูง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์สถิติบรรยาย ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน คะแนนพัฒนา การสัมพัทธ์และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1) อาชีพในท้องถิ่นที่ครูมีความต้องการจำเป็นในการพัฒนา คือ การทำไข่เค็มดินขาว เจ้าบ้านน้อย อาหารท้องถิ่นแกงพุงปลา อาหารท้องถิ่นยาวเย อาหารท้องถิ่นหมี่ระนอง ขนมท้องถิ่นอาโป้ง ลูกประคบสมุนไพร และสมุดพอเพียง 2) หลักสูตรฝึกอบรม ประกอบด้วย หลักการและเหตุผล หลักการของหลักสูตร จุดมุ่งหมายของหลักสูตร เนื้อหาสาระ กิจกรรม กระบวนการฝึกอบรม สื่อและการวัดและประเมินผล โดยผลการประเมินหลักสูตรโดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่า หลักสูตรมีความเหมาะสมและสามารถนำไปใช้ได้จริง 3) หลักสูตรฝึกอบรม มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์สามารถพัฒนากลุ่มตัวอย่าง ด้านความรู้เกี่ยวกับการงานอาชีพ และเจตคติต่องานอาชีพสูงขึ้นทุกคน โดยมีคะแนนพัฒนาการอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด สำหรับด้านทักษะการปฏิบัติงานอาชีพ พบว่า อยู่ในระดับมาก หลังจากการติดตามผลการฝึกอบรมเป็นระยะเวลา 1 เดือน คะแนนทั้ง 2 ส่วน ลดลงเล็กน้อยแต่ยังคงอยู่ในระดับมาก และกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อหลักสูตรฝึกอบรมอยู่ในระดับมาก |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
หลักสูตรท้องถิ่น |
|
dc.subject |
หลักสูตรการศึกษา |
|
dc.subject |
Humanities and Social Sciences |
|
dc.subject |
วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการบริหารการศึกษา |
|
dc.subject |
การส่งเสริมอาชีพ |
|
dc.title |
การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเสริมสร้างศักยภาพครูในการส่งเสริมงานอาชีพของนักเรียนและชุมชนโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานในการพัฒนาท้องถิ่น |
|
dc.title.alternative |
The development of trinning curriculum for enriching techer’s competency on students nd the community crrees promotion through the school bsed mngement for locl development |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The R & D research has the objectives to; 1) develop a training curriculum for enriching teacher’s competency on students and the community carrees promotion through the school based management for local development and 2) certify the developed training curriculum The training was done in two stages, comprising of 20 hours workshop training and a follow-up for a period of one mouth to evaluate the results of the development and Knowledge retension of the sample concerning knowledge, attitude, and skills. The research instruments were test, questionnaire and observation form which all met the requirement of the qualities in terms of content validity and reliability. The sample consisted of 212 teachers and students in Muang Ranong municipality schools and Community in Muang Ranong. Frequenc, percentages, means, standard deviation and content analysis were employed to analyze the data.
The findings were as the followings: 1) the local teachers' eight careers development needs were; knowledge of Salted Egg in Kaolin, Youth Tonrist Guide, Kang Pung-Pla, Yao-Yea, Hmee-Ranong, Apong, Herbal Ball and Bhobhiang notebook. 2) The training program compossed of aspects were; rationale and objectives, contents, activities, training process, training materials, and assessment and evaluation. The results of the evaluation by experts were that the course is appropriate and can be utilized. 3) The training program addressed appropriateness for utilization and met its criteria of effectiveness well. All the training participants gain higher knowledge and attitude toward career. After one month both scores declined but still remained at high level. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาเอก |
|
dc.degree.discipline |
การบริหารการศึกษา |
|
dc.degree.name |
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|