DSpace Repository

การตรวจสอบการตกค้างของยาปราบศัตรูพืชในผลิตภัณฑ์เกษตรบริเวณแม่น้ำจันทบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author วศิน ยุวนะเตมีย์ th
dc.contributor.author นภาพร เลียดประถม th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะเทคโนโลยีทางทะเล
dc.date.accessioned 2019-03-25T09:04:22Z
dc.date.available 2019-03-25T09:04:22Z
dc.date.issued 2553
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1248
dc.description.abstract จังหวัดจันทบุรีมีการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งเป้นจำนวนมาก อาจทำให้มีการใช้สารเคมีในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ เช่น สารกำจัดศัตรูพืชชนิดต่าง ๆ รวมถึงสารละลายฟอร์มัลดีไอด์หรือสารฟอร์มาลินซึ่งเป็นสารที่มีอันตรายต่อมนุษย์ นอกจากนี้ฟอร์มัลดีไอด์ยังเป็นสารที่มีการใช้อย่างผิดวิธี โดยมีการนำมารักษาสภาพอาหารไม่ให้เน่าเสีย ซึ่งอาจทำให้เกิดการปนเปื้อนของสารฟอร์มัลดีไฮด์ จึงอาจทำให้เกิดอันตรายต่อผู้บริดภค ดังนั้นการศึกาครั้งนี้จึงทำการศึกษาการปนเปื้อนของสารกำจัดศัตรูพืชในปลากะพงขาว และวัดการตกค้างของฟอร์มัลดีไฮด์ในปลากะะงขาว แมงกะพรุนและหมึกกรอบ บริเวณจังหวัดจันทบุรี จากการศึกษาไม่พบการปนเปื้อนของสารกำจัดศัครูพืชชนิดออการ์โนคลอรีนทั้ง 11 ชนิด และคาร์บาเมต 8 ชนิด อย่างไรก็ตามพบว่ามีปริมาณฟอร์มัลดีไฮด์ในปลากะพงขาวอยู่ระหว่าง 1.41-8.48 มิลลิกรัม/กิโลกรัม และจากการเปรียบเทียบปริมาณฟอมัลดีไฮด์ในปลากะพงขาวจากแหล่งต่าง ๆ คือ ปลากะพงขาวจากบ่อดิน (3.19+-0.74 มก./กก.) กระชัง (3.15+-11 มก./กก.) และตลาดสด (3.89+-3.14 มก./กก.) ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p>0.05) อย่างไรก็ตามจากการศึกษาพบว่า ปลากะพงขาวจากตลาดวรรณการ อำเภอมะขามซึ่งมีค่าเท่ากับ 8.48 มก./กก. มีค่ามากกว่าสถานีอื่นอย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) ในขณะที่การตรวจวัดฟอร์มัลดีไฮด์ในแมงกะพรุนดอง แมงกระพรุนแห้งและหมึกกรอบ ใน 11 ร้านค้า ใน 5 อำเภอของจังหวัดจันทบุรี พบว่าแมงกะพรุนดองมีปริมาณมัลดีไฮด์อยู่ระหว่าง 0.62-3.98 มก./กก. และหมึกกรอบมีปริมาณฟอร์มัลดีไฮด์อยู่ระหว่าง 0.97-192.64 มก./กก. จากการประเมินความเสี่ยงของฟอร์มัลดีไฮด์ต่อผู้บริโภคในอาหารทะเลแต่ละชนิด โดยการคำนวณค่าการบริโภคของฟอร์มัลดีไฮด์ใน 1 วัน Estimate Daily Intake (EDI) สูงสุดของการศึกษาครั้งนี้ซึ่งมีค่าเท่ากับ 0.014 มิลลิกรัม/กิโลกรัม และเมื่อนำมาเปรียบเทียบกับค่าที่ยอมรับได้ต่อวันสำหรับการบริโภคฟอร์มัลดีไฮด์ Acceptable Daily Intake (ADI) มีค่า 0.2 มิลลิกรัม/กิโลกรัม พบว่า ฟอร์มัลดีไฮด์ยกเว้นในหมึกกรหอบที่มีค่าสูงกว่า ADI ดังนั้นการบริโภคหมึกกรอบจึงมีแนวโน้มที่จะเกิดความเสี่ยงในการบริโภค th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยนี้ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ยาปราบศัตรูพืช th_TH
dc.subject สารตกค้าง th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title การตรวจสอบการตกค้างของยาปราบศัตรูพืชในผลิตภัณฑ์เกษตรบริเวณแม่น้ำจันทบุรี th_TH
dc.title.alternative Determination of pesticide residues in agricultural product from Chanthaburi river en
dc.type Research
dc.year 2553
dc.description.abstractalternative There is several chemicals use for aquaculture in Chanthaburi province due to the major activity of coastal zone in this area is aquaculture such as pesticide and formaldehyde or formalin which is harmful chemical for human. Formalin also found as misuse chemical for preservative to maintain the freshness of seafood. This possibility contamination in seafood may cause harmful effect to consumer. Therefore, the containated pesticide in seabass., formaldehyde in seabass and processing jelly fish and squid product in Chanthaburi province was determined in this study. The result showed that contaminated formaldhyde in seabass was ranged between 1.41-8.48 mg/kg. There were no significant different among formaldehyde in seabass from different sources which were pond culture (3.19+-0.74 mg./kg), cage culture (3.15+-0.11 mg/kg) and markets (3.89+-3.14 mg/kg) (P.0.05). However, the formaldehyde in seabass from Wanthakarn Market, Ma Kham district (8.48 mg/kg) was significant higher than seabass from other stations (P<0.05). In addition the result showed that contaminated formaldehyde in pickledjelly fish were ranged between 0.62-3.98 mg/kg meanwhile cotaminated formaldehyde in dry jelly fish was range between 0.77-3.50 mg/hg and squid in lye water was ranged between 0.97-192.64 mg/kg. The risk assessment on formaldehyde in seabass for fish consumption was determined by Estimate daily Intake (EDI) calculation. The most of EDI which of EDI which was calcalated from the highest formaldehyde contaminated level were lower than (Acceptable Daily Intake) ADI (0.02 mg/kg) except EDI of squid in lye water was higher than ADI. This finding can imply that the formaldehyde in squid lye water in Chanthaburi province was may risk for fish consumers. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account