dc.contributor.author | ประภา นันทวรศิลป์ | th |
dc.contributor.author | Ronald A. Markwardt | th |
dc.contributor.author | พัตรา สุนทรฐิติเจริญ | th |
dc.contributor.author | อาดูลย์ มีพูล | th |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2019-03-25T09:01:16Z | |
dc.date.available | 2019-03-25T09:01:16Z | |
dc.date.issued | 2552 | |
dc.identifier.uri | http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1105 | |
dc.description.abstract | ปัญหาพื้นฐานทางด้านสาธารณสุขที่สำคัญบริเวณตามแนวชายแดน คือ โรคระบาดประจำถิ่นที่เกิดจากแมลงพาหะ กิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ เช่น การเคลื่อนย้ายถิ่น โครงการการพัฒนาต่างๆทำให้คนเหล่านี้ เข้าสู่ห่วงโว่ของการติดต่อมาลาเรีย ซึ่งมีความสำคัญที่ต้องการการศึกษาต่อไป รวมถึงความต้องการในการออกแบบให้สุขศึกษาทางด้านพฤติกรรมการป้องกันโรคที่เกิดจากยุง การที่จะพัฒนาให้สุขศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ งานวิจัยจึงจำแนกพฤติกรรมออกเสี่ยงและจำแนกพฤติกรรมการป้องกันที่เหมาะสมกับกลุ่มวัฒนธรรมต่างๆตามแนวชายแดนไทยพม่า กัมพูชาและมาเลเซีย ข้อมูลเชิงคุณภาพที่ให้วิเคราะห์เก็บรวบรวมจากการสัมภาษณ์ ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมยุงเก็บรวบรวมโดยวิธีใช้เก็บโดยการเกาะพักทั้ง 3 ฤดู ใน 3 พื้นที่คือ กาญจนบุรี ตราดและ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้การพรรณนาข้อมูลได้จากการรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมยุงและการตรวจชนิดของเชื่อมาลาเรียในยุงโดยวิธี PCR จากการวิจัยพบว่ากลุ่มต่างวัฒนธรรมกลุ่มย่อยๆหรือกลุ่มที่กระจายอยู่ตามชายแดน เสี่ยงต่อโรคเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโรคติดเชื้อนำโดยแมลง เราได้ค้นหาเงื่อนไขต่างๆที่จะนำไปสู่การสัมผัสเชื้อและค้นหาว่าประชาชนกำลังป้องกันยุงกัดอย่างไร เราเก็บข้อมูลการปรับตัวของยุงต่อสิ่งแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลง เช่นแหล่งพันธุ์ เวลาการหาเหยื่อ สถานที่เกาะพัก อุณหภูมิ และรูปแบบของการกัดของยุงที่มีความสัมพันธ์กับประชาชนในพื้นที่นั้น ความสัมพันธ์ระหว่างยุงและเชื้อ สามารถนำมาอธิบายความสัมพันธ์ของการจำเพาะเจาะจงต่อสิ่งแวดล้อม งานครั้งนี้รายงานการจับและการจำแนกชนิดของยุงที่นำเชื้อมาลาเรีย ในพื้นที่การระบาดประจำถิ่น ในช่วงฤดูแล้ง การจับยุงโดยใช้คนเป็นเหยื่อทำใน 3 พื้นที่คือ ตราด กาญจนบุรี ยะลานราธิวาสและปัตตานี พบ Sporozoites จากต่อมน้ำลายยุงก้นปล่องในพื้นที่ชายแดนจังหวัดตราดและบ้านชุมชนกะเหรี่ยง จังหวัดกาญจนบุรี ผลของชนิดของเชื้อที่พบมีความสอดคล้องกับผู้ติดเชื้อและการพบเชื้อในการค้นหาเชิงรุกจากหน่วยควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ซึ่งเป็นชนิด Plasmodium vivax การจับยุงในพื้นที่ภาคใต้ส่วนใหญ่เป็นยุง Mansonia bonneae, Mansonia Indiana และยุง Cluex quinquefasciatus ยุ่งเหล่านี้เป็นพาหะนำเชื้อโรคเท้าช้างและไข้สมองอักเสบ การจับยุงเหล่านี้สอดคล้องกับพื้นที่เป็นลักษณะป่าพรุ มีน้ำขังตลอดทั้งปีรอบๆหมู่บ้าน ทุกๆพื้นที่การวิจัยมีการรายงานโรคไข้เลือดออก และได้ทีการสังเกตสถานการณ์ไข้เลือดออกด้วย หลังจากที่มีการจำแนกยุงก้นปล่องชนิดต่างๆแล้ว จะทำการผ่าต่อมน้ำลายยุงเพื่อหาชนิดของเชื้อมาลาเรียโดยวิธี PCR เราพบยุง 5 ชนิด An. dirus, An, mimimus, An. maulatus และ An. เป็นครั้งที่ 2 ร้อยละ 85 ผลการตรวจ species จาก sporozoite พบ 1 ใน 40 ตัว (An. dirus) จากยุงที่บ่อไร่ ตราดเมื่อเดือนกุมภาพันธ์และเดือนกันยายน 1 ใน 12 ตัว (An. dirus) และการตรวจจากยุง An. acontus 2 ใน 8 ตัว ในตำบลห้วยเขย่ง จังหวัดกาญจนบุรีพบ positive ของ P.vovax จากการทดลองจะเห็นได้ว่าการติดเชื้อในยุงช่วงฤดูแล้งยังเป็นการเสี่ยงสำหรับประชาชนในพื้นที่ในการติดเชื้อมาลาเรีย ถึงแม้จะเป็นช่วงฤดูแล้งก็ตาม การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพค้นพบและอธิบายพฤติกรรมของคนและกิจกรรมต่างๆของคนที่จะป้องกันการสัมผัสโรคติดต่อจากยุง เราสังเกตเห็นว่าการมีปฏิสัมพันธ์มากขึ้นระหว่างประชาชนและสิ่งแวดล้อมที่มีความเสี่ยงในบ้านไร่ป้า กาญจนบุรีมากกว่าบ่อไร่ ในหมู่บ้านไร่ป้า กาญจนบุรีและตราดจะพยายามหลีกเลี่ยง ป้องกันยุงเนื่องจากก่อความรำคาญตอนหัวค่ำ น้อยมากที่จะป้องกันตอนกลางวัน และตอนกลางคืนและขณะนอนหลับ หรือแม้กระทั่งคนทำงานการป้องกันยุงเพียงเพื่อเหตุผลไม่ให้ยุงกัดแต่ไม่ใช่เสี่ยงต่อติดเชื้อ การควบคุมยุงสาธารณะมีประสิทธิภาพน้อยมากในการลดอัตราการเกิดโรคจากยุง ดังนั้นเราควรให้ประชาชนรับผิดชอบตนเอง การควบคุมสาธารณะมีประสิทธิภาพน้อยมากในการลดอัตราการเกิดโรคจากยุง ดังนั้นเราควรให้ประชาชนรับผิดชอบตนเองในการป้องกันไม่ให้เชื้อเข้าสู่ตนเองเป็นการยับยั้งการติดต่อและการแพร่เชื้อ จึงจำเป็นอย่างยิ่งในการส่งเสริมการสวมเสื้อผ้ามิดชิดให้เหมือนกับการใช้มุ้งและยาทากันยุงเพื่อป้องกันยุงกัด การใช้วัคซีนยังต้องรออีกนาน การหันมาใช้เทคโนโลยีอย่างง่ายราคาถูกจะดีกว่า และดีกว่าการใช้ยาและรอของจากเทคโนโลยีที่ทันสมัย | th_TH |
dc.description.sponsorship | โครงการวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากเงินงบประมาณแผ่นดินประจำปีงบประมาณ 2552 | en |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | ยุง - - การป้องกันและควบคุม | th_TH |
dc.subject | ยุงพาหะนำโรค | th_TH |
dc.title | กลยุทธ์ในการป้องกันโรคที่เกิดจากยุงตามแนวชายแดนไทย | th_TH |
dc.title.alternative | Investigation of mosquito borne disease and strategies for protection in the border cultures of Thailand | |
dc.type | Research | |
dc.year | 2552 | |
dc.description.abstractalternative | One of basic health concerns at the border is the endemicity of vector borne disease. The activities of humans, such as migration and development projects, make them part the chain of transmission of malaria need be studied further, and behavioral intervention need to be designed. In order to develop effective interventions, this research identifies risk behaviors and preventive behaviors that are culturally appropriate so that programs can be developed to change knowledge,attitudes and beliefs (KAB ) about mosquito borne disease. Method: the target population was persons living in districts that border Myanmar, Cambodia, and Malaysia Qualitative data used in the analysis was collected from interviews with officials from district hospitals, health centers and malaria centers, as well as from interviews with people in the risk areas. Vector mosquitos were collected in three seasons in Trat and Kanchanaburi provinces, and from some villages in SouthThailland. Descriptive data was gathered on the mosquito behavior, and experimental data from PCR was used to identify the presence of diseases. In our research found that the minority cultures or groups in the border provinces are generally most at risk for vector borne disease. We investigated the conditions that to adaptation the vector mosquitoes make to the environmental e.g. breeding conditions, biting times, resting places, temperature, and attempt to describe the patterns of mosquito biting in relation to the customs of local people. The vector-agent relationship had to be described for the specific environments. This paper reposts on the trapping and identification of mosquitoes and malaria in high endemic area of Thailand during dry season. Human land catch were done in Kanchanaburi, Trat and Narathiwat, Yala and Pattani Provinces. Sporozoite carrying anopheles were found in an area only frequented by borderguards in Trat and in an agricultural camp in Kanchanaburi. This is consistent with the incident casea of P. vivax repotted in the area by the local Malaria Centers. Catches in the southern border provinces produced a lot of Mansonia bonneae, Mansonia Indiana and Culex quinquefasciatus, the geography near the villages. Cases of Dengue (DHF) were reported in all areas, so we looked for situations of exposure to Aedes. Anopheles species was identified, and after differentiation, nested PCR was used to investigate the presence and species of malaria in saliva of trapped anopheles. We found 3 species of Anopheles, including An.mininus complex, An dirus complex, an aconictus, An. maculatys and An. babirostis. Longevity of the trapped mosquitoes was estimated by examining ovaries. All anopheles were at least seven day old, and about 85% of the catch was looking for thrir second blood meal. One (1/40) of the Anopheles dirus from Borai samples taken in February proved to be infected with p.vivax. In Septenber,one (1/12) Anopheles dirus from Borai was found to be positive. In October, eight Anopheles were caught at a Karen camp outside Borai was found to be positive during the dry season maintain the risk of humans getting malaria ever in the dry season. Qualitative data analysis was done to discover and describe human behaviors and human activities that prevent exposures to disease carrying mosquitoes. We observed more interaction between people and risk environments in banRaiPa, Kanchanaburi than in Borploy, Trat In BanRaiPa the disease environments are the town, as well where people are doing agricultural day-labor or cutting trees. In Kanchanaburi and Trat, people made efforts to protect from nuisance mosquitoes in the evenings, but were less likely to protect them from mosquitoes, avoiding the exposure to mosquit | en |