dc.contributor.author |
ผกาพรรณ ดินชูไท |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T09:01:13Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T09:01:13Z |
|
dc.date.issued |
2552 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1053 |
|
dc.description.abstract |
รูปแบบการวิจัย : พรรณนา
วัตถุประสงค์การวิจัย : เพื่อศึกษาวิจัยที่ส่งผลต่อความเครียดของนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 1,2 และ 3 คณะแพทย์ศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา ปีการศึกษา 2552
ประชากรกลุ่มตัวอย่าง : ประชากรที่ในการศึกษาครั้งนี้เป็นนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 1,2 และ 3 คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีการศึกษา 2552 จำนวนชั้นปีละ 32 คน รวมทั้งหมด 96 คน
วิธีการวิจัย : ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดความเครียดที่เป็นที่อ้างอิงมาจากกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข และมหาวิทยาลัยสารคาม เพื่อใช้สอบถามนิสิตแพทย์ซึ่งเป็นกลุ่มประชากรทั้งหมด โดยแบบสอบถามนี้แบ่งออกเป็น 3 ตอน ดังต่อไปนี้
ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของนิสิต
ตอนที่ 2 เป็นแบบวัดความเครียดสวนปรุง (Suanprung Stree Test-20,SPST-20)
ตอนที่ 3 เป็นแบบสอบถามสาเหตุของความเครียด ซึ่งแบ่งเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการเรียน ด้านสภาพแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัย ด้านส่วนตัวและสังคม
การวิเคราะห์: ผู้วิจัยนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้มาวิเคราะห์ข้อมูลตามระเบียบวิธีทางสถิติ ดังนี้
1. ข้อมูลทั่วไปของกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์โดยหาค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ การแจกแจงความถี และค่าร้อยละ
2. สาเหตุของความเครียด วามเครียดจำแนกรายข้อ รายด้าน โดยการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
3.วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม โดยการใช้สถิติคำนวณค่าสัมฤทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient)
สรุปผลการวิจัย : สาเหตุของความเครียดของนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 1, 2 และ 3 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา เมื่อพิจารณาตามรายข้อ และรายด้าน 3 ด้าน ได้แก่ 1)ด้านการเรียน 2)ด้านสภาพแวดล้อมภายในมหาวิทยาลัย และ 3)ด้านมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับต่ำ เมื่อพิจารณาตามรายด้าน พบทั้ง 3 ด้านมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับต่ำ เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า 2 ใน 3 ข้อแรกที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุดเป็นข้อคำถามที่อยู่ในด้านการเรียน ได้แก่ ข้อที่ 1 เตรียมตัวไม่พร้อมก่อนสอบ และ ข้อที่ 2 เรียนไม่เข้าใจ ทำให้อึดอัดและกังวลเรื่องผลการเรียนและอันดับที่ 3 คือ เป็นข้อคำถามที่อยู่ในด้านส่วนตัวและสังคม คือข้อที่ 4 เกิดความกลัวว่าสิ่งที่คาดหวังยังไม่สำเร็จ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
งานวิจัยนั้ได้รับทุนสนับสนุนจากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา งบประมาณเงินอุดหนุนจากรัฐบาลโครงการผลิตแพทย์เพิ่ม ประจำปีงบประมาณ 2554 |
th |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ความเครียด |
th_TH |
dc.title |
การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลตอความเครียดของนิสิตแพทย์ คณะแพทย์ศาสตร์ ชั้นปีที่ 1, 2 และ 3 มหาวิทยาลัยบูรพา ปีการศึกษา 2552 |
th_TH |
dc.title.alternative |
Factors effecting on stress in medical students, faculty of Medicine ,Burapha University |
th_TH |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.year |
2554 |
|
dc.description.abstractalternative |
Study design: Descriptive study
Objectives: To study the factor effecting on stress in 1st ,2nd and 3rdyear of medical students , faculty of Medicine ,Burapha University on the academic year 2009.
Population and Samples: The 1st ,2nd and 3rdyear of medical students ,faculty of Medicine , Burapha University on The academic year 2009.
Materials and Methods: Using the questionnaires for collecting data
The tools for this methods are the stress measuring from referenced from the department of mental health, ministry of public health and Mahasarakham university. These tools were designed for collecting data from the medical students assuming the total population, divided into 3 parts composed of
1 . General status from
2 . Suanprung stress Test-20, SPST-20
3. The stress causative from
Analysis : The researchers take the collecting data to analysis by the mean of statistic methods composed of
1. The general data of the sample group analyze by the fundamental of statistic methods composed of the distribution of frequencies and percentage.
2. The stress causes are classified by numbers and factors. The data are analyzed by the distribution of frequencies , mean and standard deviation.
The relationship of the independent variable and the dependent variable are analyzed by the statistic method as pearson product moment correlation coefficient.
Conclusions : The stress causes of medical students, faculty of medicine, Burapha university are classified by numbers and factors are composed of 1) Studying factor 2)Environmental factor3) Privacy and social factor, when considered by all of these factors show that the total meaning scores approximately low and when considered by the numbers show that the first two third having the highest total meaning scores are the questions in studying factors such as 1)Preparing the examination inappropriately 2) Misunderstanding the lessons so the students would be cramped and worried 3) The students afraid of their expect were not succeeded. |
en |