DSpace Repository

รูปแบบการพัฒนาสุขภาพจิตเพื่อความพึงพอใจในการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยเอดส์และครอบครัวในเขตพื้นที่พัฒนาชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก

Show simple item record

dc.contributor.author เยาวลักษณ์ บรรจงปรุ
dc.contributor.author เรณา พงษ์เรืองพันธุ์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:45:48Z
dc.date.available 2019-03-25T08:45:48Z
dc.date.issued 2538
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/102
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในการพัฒนารูปแบบการพัฒนาสุขภาพจิตเพื่อความพึงพอใจในการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยโรคเอดส์และครอบครัว กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้ป่วยโรคเอดส์ จำนวน 45 คน ครอบครัวของผู้ป่วย 28 คน ผู้นำชุมชนในหมู่บ้าน 33 คน หัวหน้าส่วนราชการระดับอำเภอ 6 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาและการประชุมกลุ่มย่อย วิธีดำเนินการวิจัยโดยเก็บรวบรวมข้อมูล ความพึงพอใจในการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยและครอบครัว ก่อนและหลังเข้าร่วมโครงการพัฒนาสุขภาพจิตของผู้ป่วยและครอบครัว การประชุมกลุ่มแบบมีจุดมุ่งหมายเฉพาะ (focus group) ในกลุ่มผู้นำชุมชน และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกในกลุ่มหัวหน้าส่วนราชการระดับอำเภอ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อพัฒนารูปแบบ หาค่าสถิติเชิงบรรยาย ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ค่าสหสัมพันธ์ถดถอยพหุคูณ การวิเคราะห์ค่าที (t-test) และวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis) ผลการวิจัยโดยการทดลองใช้โครงการ "พัฒนาสุขภาพจิตของผู้ป่วยโรคเอดส์และครอบครัว" พบว่า ระดับความพึงพอใจในการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยโรคเอดส์และครอบครัวหลังเข้าร่วมโครงการ สูงกว่าก่อนเข้าร่วมโครงการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คณะผู้วิจัยได้พัฒนารูปแบบที่เหมาะสมในการพัฒนาสุขภาพจิตเพื่อความพึงพอใจในการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยโรคเอดส์และครอบครัวคือ "ปิรามิดการพัฒนาสุขภาพจิตของผู้ป่วยโรคเอดส์และครอบครัว" ประกอบด้วยองค์ประกอบสำคัญ 5 ระบบ ที่ต้องสอดประสานกัน ได้แก่1. บ้าน ซึ่งมีครอบครัวให้การดูแลช่วยเหลือในการศึกษาปฏิบัติธรรมะ และปฏิบัติตนตามคำแนะนำของแพทย์เพื่อดูแลร่างกายและจิตใจ2. ชุมชน โดยเตรียมชุมชนให้มีการยอมรับ จัดเตรียมอาสาสมัครเพื่อให้การช่วยเหลือ3. โรงพยาบาล ทำหน้าที่ด้านการรักษา ให้คำปรึกษา และเตรียมผู้ป่วยญาติให้กลับไปอยู่ในชุมชนได้อย่างมีความสุข4. ระบบการช่วยเหลือของสังคม โดยจัดหางาน จัดระบบให้คำปรึกษา จัดกิจกรรมด้านศาสนา5. ระบบการดูแลระยะสุดท้าย ภาครัฐบาล ภาคเอกชน และองค์การกุศล โดยจัดดำเนินงานด้านสถานสงเคราะห์เพื่อดูแลผู้ป่วยระยะพักฟื้น และระยะสุดท้าย ทั้ง 5 ระบบ จำเป็นต้องมีความรัก ความเข้าใจ และความเห็นใจที่สังคมมอบให้กับผู้ติดเชื้อและผู้ป่วยโรคเอดส์ th
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ th_TH
dc.subject โรคเอดส์ th_TH
dc.title รูปแบบการพัฒนาสุขภาพจิตเพื่อความพึงพอใจในการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยเอดส์และครอบครัวในเขตพื้นที่พัฒนาชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก th_TH
dc.title.alternative Model for mental health development for life satisfaction of people living with AIDS and their families in Eastern Sea-board area en
dc.type Research th_TH
dc.year 2538
dc.description.abstractalternative The main objective of this research was to develop a model of mental health development for the life satisfaction of people living with AIDS and their families. The samples consisted of 45 AIDS patients, 28 of their family members, 33 community leaders and 6 district level administrators from the government sector. Data collection was done by questionnire for life style satisfaction of AIDS patients and their families before and after participating in the development of the health of pelple living with AIDS and their families programme, focus group among the community leaders and in - depth interviews with local government administrators. Data analysis was done by descriptive analysis, Pearson-Product Moment Correlation,Multiple regression, t-test and content analysis. Major findings: The result of testing the model for mental health development of people living with AIDS and families project were that the life satisfaction of AIDS patients and their families was significantly higher post-test than pre-test at a level of significance of .05. The researchers developed an appropriate model for mental health development for the life satisfaction of the people living with AIDS and their families which was named "The pyramid of mental health development for the people living with AIDS patients and their families". This is composed of 5 integrated parts:1. Home: family care through study and practice of Dhamma, and self-care by following advice given by doctors both physical and psychosocial.2. Community: by preparing the community to accept the people living with AIDS and preparation of volunteers to provide assistance.3. Hospital: provide treatment, counseling, preparation of patients and families to enable them to return to community happily.4. Society assistance system : by providing work, counseling, and religious activities.5. Hospice Care: public, private sector and charity organizations through establish welfare centers for the care of people living with AIDS,both respite and in the terminal stages. All 5 systems must show love, understanding and sympathy that society can provide to the people living with AIDS. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account