dc.contributor.author |
นงนุช ล่วงพ้น |
|
dc.contributor.author |
ศิริรัตน์ เกียรติกุลานุสรณ์ |
|
dc.contributor.author |
กุลธิดา กล้ารอด |
|
dc.contributor.author |
สานิตา สิงห์สนั่น |
|
dc.contributor.author |
พรพรหม สุระกุล |
|
dc.date.accessioned |
2023-11-15T06:18:38Z |
|
dc.date.available |
2023-11-15T06:18:38Z |
|
dc.date.issued |
2565 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10283 |
|
dc.description |
ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัย ประเภทเงินรายได้ ประจำปีงบประมาณ 2564 คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.description.abstract |
การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยในห้องเรียนมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนิสิตกายภาพบำบัดที่เรียนรายวิชาประสาทวิทยาศาสตร์ที่เรียนแบบอีเลิร์นนิงแบบชี้แนะและแบบ ปกติ 2. เพื่อศึกษาผลการปฏิบัติงานของนิสิตที่เรียนด้วยการเรียนแบบอีเลิร์นนิงแบบชี้แนะ รายวิชา ประสาทวิทยาศาสตร์สำหรับกายภาพบำบัดและแบบปกติ 3. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้ของนิสิตที่ เรียนด้วยการเรียนแบบอีเลิร์นนิง แบบชี้แนะ รายวิชาประสาทวิทยาศาสตร์สำหรับกายภาพบำบัดและแบบ ปกติ 4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนิสิตที่เรียนด้วยการเรียนแบบอีเลิร์นนิงแบบชี้แนะรายวิชาประสาท วิทยาศาสตร์สำหรับกายภาพบำบัดและแบบปกติ โดยศึกษาในกลุ่มนิสิตกายภาพบำบัดชั้นปีที่ 2 สาขาวิชา กายภาพบำบัดรหัส 64 จำนวน 47 คน หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชากายภาพบำบัด หลักสูตร ปรับปรุง พ.ศ. 2560 ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา 68321260 ประสาทกายวิภาคศาสตร์ สำหรับ กายภาพบำบัด จำนวนหน่วยกิต 2(2-0-4) ในภาคการศึกษาต้นปีการศึกษา 2565 โดยแบ่งนิสิตออกเป็น 2 กลุ่ม คือเรียนแบบอีเลิร์นนิงแบบชี้แนะ จำนวน 23 คน และกลุ่มที่เรียนปกติ จำนวน 24 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการเรียนด้วยวิธีการเรียนแบบอีเลิร์นนิงแบบชี้แนะ ทั้ง 3 เรื่อง บทเรียนอีเลิร์นนิงแบบชี้แนะ ทั้ง 3 เรื่อง แบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ของนิสิต แลลประเมินผลการปฏิบัติงานของนิสิต แบบประพฤติกรรมการ เรียนรู้ของนิสิต แบบสอบถามความพึงพอใจของนิสิตต่อการจัดการเรียนการสอนซึ่งข้อมูลที่ได้ถูกวิเคราะห์ ข้อมูลดยใช้ค่าเฉลี่ยน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที (t-test) ผลการศึกษาพบว่า ด้านการ ปฏิบัติงาน พฤติกรรมการเรียน และความพึงพอใจของทั้งสองกลุ่มไม่มีความแตกต่างกัน แต่ผลผลสัมฤทธิ์ ของการจัดการเรียนการสอนทั้งสองกลุ่มมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 0.001 ซึ่งแสดงให้เห็นว่ากลุ่มที่เรียนผ่านอีเลิร์นนิงแบบชี้แนะมีผลสัมฤทธิ์การเรียนดีกว่าเนื่องมาจากนิสิต สามรถเข้าไปทบทวนเนื้อหาบทเรียนได้ตลอดเวลา และทุกที่เท่าที่ต้องการ จึงเป็นวิธีการจัดการเรียนการ สอนทางเลือกที่ดีในช่วงการแพร่ระบาดของโคโรนา 2019 |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ระบบการเรียนการสอน (อุดมศึกษา) |
th_TH |
dc.subject |
การเรียนการสอนผ่านเว็บ |
th_TH |
dc.subject |
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน |
th_TH |
dc.subject |
อีเลิร์นนิ่ง |
th_TH |
dc.title |
การจัดการเรียนการสอนอีเลิร์นนิงแบบชี้แนะส่งผลต่อการเรียนรู้ของนิสิตกายภาพบำบัดชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.title.alternative |
Learning Activity of E-learning By Using Direct Instruction on Learning Outcome of Second Year Physical Therapy Students Burapha University |
th_TH |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.year |
2565 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this study were 1. Compare leaning outcomes of the students before and after e-learning by using direct instruction and studying in classroom 2. Study the performance of student that leaning on e-learning by using direct instruction and studying in classroom 3. Study learning behaviors of the of student that leaning on e-learning by using direct instruction and studying in classroom and study student’s satisfaction towards e-learning by using direct instruction and studying in classroom. This research was focus on 2nd year student of physical therapy program. The 47 students were including to this study and simple random sampling were allocate the student into 2 groups: e-learning by using direct instruction (23 students) and studying in classroom (24 students). The instruments of this study were 1. Lesson plan of e-learning by using direct instruction 2. Learning Management Stem by using direct instruction and google classroom 3. Leaning outcomes test 4. Assessment form of performance 5. questionnaires on satisfaction toward e-learning by using direct instruction and studying in classroom. The data were analysis by using computer program and statistical analysis is t-test. The results of this study shown that all parameter no-significant different, but the learning outcome in e-learning by using direct instruction group was increased when compared to the classroom group with significant level 0.001. From the result may be the e-learning by using direct instruction group able to repetitive study in VDO as much as they want, everywhere and anytime. This study suggests that the e-learning by using direct instruction is the alternative method to applied in epidermic situation |
th_TH |