DSpace Repository

แนวทางการพัฒนาทักษะการทำงานฝ่ายการผลิตเพื่อให้สามารถทำงานทดแทนได้ทุกแผนก กรณีศึกษา บริษัท ABC จำกัด

Show simple item record

dc.contributor.advisor สุชนนี เมธิโยธิน
dc.contributor.author ธนิต สุธิรังกูร
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-09-18T07:56:53Z
dc.date.available 2023-09-18T07:56:53Z
dc.date.issued 2565
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10228
dc.description งานนิพนธ์ (บธ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2565
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาทักษะ พนักงานฝ่ายผลิตให้สามารถปฏิบัติงานทดแทนกันได้ 2) เพื่อวางแนวทางนโยบายในอนาคต ให้พนักงานฝ่ายผลิตสามารถปฏิบัติงานแทนกันได้ การศึกษาวิจัยในครั้งนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้บริหารโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่จังหวัดชลบุรี จำนวน 12 คน และพนักงานระดับหัวหน้างานของบริษัท ABC จำกัด จำนวน 3 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ คือ บทสัมภาษณ์เชิงลึก ผลการวิจัย พบว่า 1) การหมุนเวียนการทำงานสามารถช่วยเพิ่มทักษะให้พนักงาน และทำให้พนักงานสามารถทำงานทดแทนกันได้และต้องมีการกำหนดกรอบระยะเวลาในการหมุนเวียนงานที่ชัดเจน 2) ควรมีการวางแผนการฝึกอบรมระยะสั้น เพื่อฝึกอบรมพนักงาน ฝ่ายผลิตของบริษัท โดยมีการแผนการฝึกอบรมแยกตามแผนกตามทักษะการทำงานที่จำเป็น เพื่อให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 3) การสื่อสารภายในองค์กรเป็นเรื่องสำคัญ ทั้งระหว่างผู้บริหารกับ พนักงาน และระหว่างพนักงานด้วยกันเองการสื่อสารที่ดีจะส่งผลดีต่อองค์กรทำให้ผู้บริหารเข้าใจถึงความต้องการของพนักงานมากยิ่งขึ้นในทางกลับกันพนักงานจะเข้าใจในผู้บริหารมากขึ้นเช่นเดียวกัน ทำให้การทำ งานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
dc.language.iso th
dc.publisher วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject การผลิต -- การบริหาร
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.subject กำลังการผลิต
dc.title แนวทางการพัฒนาทักษะการทำงานฝ่ายการผลิตเพื่อให้สามารถทำงานทดแทนได้ทุกแผนก กรณีศึกษา บริษัท ABC จำกัด
dc.title.alternative The development of trining model for production employees to be ble to work s substitute cse study: bc co., ltd
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative The purpose of this research was to study 1) development guidelines 2) guidelines for future policy This research is qualitative research. The samples used in this research were 12 manufacturing business owners and 3 heads of employees. The instrument used in this research was an in-depth questionnaire. The results showed that 1) job rotation did help employees to improve working skills and can be work as a substitute 2) short-term development planning should be used for each department to improve individual skill and work efficiency 3) communication is important for both between employer-employee and between employees
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.degree.name บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account