DSpace Repository

การจัดตารางการผลิตโดยใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ : กรณีศึกษาโรงงานผลิตชิ้นส่วนรถยนต์

Show simple item record

dc.contributor.advisor เสาวนิตย์ เลขวัต
dc.contributor.author ปัญจรัศม์ แพทย์โท
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะโลจิสติกส์
dc.date.accessioned 2023-09-18T07:56:42Z
dc.date.available 2023-09-18T07:56:42Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10192
dc.description งานนิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstract งานวิจัยได้นำปัญหาที่เกิดขึ้นจากกระบวนการวางแผนการผลิต โดยเฉพาะการจัดลำดับ การผลิตประจำวันของโรงงานผลิตชิ้นส่วนรถยนต์แห่งหนึ่ง ซึ่งในปัจจุบันการจัดลำดับ การผลิตจะดำเนินการโดยอาศัยความชำนาญของพนักงาน ซึ่งก่อให้เกิดระยะเวลารอคอยในกระบวนการมากเนื่องจากการวางแผนการผลิตใช้เวลานาน และในบางครั้งก็ก่อให้เกิดความผิดพลาดในการจัดลำดับการผลิต ทำให้เกิดความเสียหายและส่งผลกระทบต่อการจัดส่งสินค้าผู้วิจัย จึงเลือกที่จะนำแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของการจัดลำดับงาน (Job shop scheduling problem) ไปใช้เพื่อช่วยตัดสินใจในการจัดลำดับการผลิต โดยใช้ Solver ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ประเภท Add-in ใน Microsoft Excel เพื่อทำการเขียนโปรแกรมโดยนำเอาข้อมูลต่าง ๆ เช่น ความสามารถในการผลิตของเครื่องจักร (machine capacity) และข้อจำกัดต่าง ๆ ของผลิตภัณฑ์(constraints) เป็นต้นมาทำการวิเคราะห์เพื่อให้สามารถทำการวางแผนการผลิตให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดและใช้เวลาให้การทำงานต่ำที่สุด ซึ่งผลการศึกษาโดยการเปรียบเทียบวิธีการจัดลำดับงานในปัจจุบันด้วยวิธีฮิวริสติก (Heuristic) และวิธีการจัดลำดับงานด้วยการใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์พบว่า สามารถลดเวลาในการผลิตในเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2564 ได้ 73.99 ชั่วโมงหรือประมาณ 3 วัน หรือ คิดเป็นร้อยละ 11.32 สามารถลดเวลาในการผลิตในเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2564 ได้ 21.72 ชั่วโมงหรือประมาณ 1 วัน หรือคิดเป็นร้อยละ 2.83
dc.language.iso th
dc.publisher คณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject รถยนต์ -- การผลิต
dc.subject การวางแผนการผลิต
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
dc.title การจัดตารางการผลิตโดยใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ : กรณีศึกษาโรงงานผลิตชิ้นส่วนรถยนต์
dc.title.alternative Mthemticl modeling for job shop scheduling problem: cse study of utomotive prt fctory
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This paper addresses a workforce planning problem of production especially daily production scheduling of automotive part manufacturing. Currently, daily production scheduling is prepared by scheduler’s experience which causes long waiting time and error. This error is impacted delivery goods to customer. This research uses the optimization modeling to help the scheduler preparing daily production schedule by using open solver software in excel sheet to program. The importance input data e.g. machine capacity, product constrain for analyzing to get high efficiency of production scheduling by shorten processing time. The results show that a reduction of working time was decreased 73.99 hrs. or 3 days (11.32%) in May 2021 and the working time can be decreased 21.72 hrs. or 1 day (2.83%) in July 2021
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account