DSpace Repository

การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการสินค้าคงคลัง กรณีศึกษา ร้านสะดวกซื้อ

Show simple item record

dc.contributor.advisor บรรหาร ลิลา
dc.contributor.author ธนัฎฐสรณ์ เหมือนทองแท้
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะโลจิสติกส์
dc.date.accessioned 2023-09-18T07:54:12Z
dc.date.available 2023-09-18T07:54:12Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10182
dc.description งานนิพนธ์ (วท.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563
dc.description.abstract งานวิจัยนี้นำเสนอการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการสินค้าคงคลังของร้านสะดวกซื้อ กรณีศึกษา ซึ่งมีปัญหาหลายด้านซี่งมีสาเหตุมาจากการที่ไม่มีระบบการจัดการที่เหมาะสม จึงได้ประยุกต์หลักการการจัดกลุ่มสินค้าแบบเอบีซีตามเกณฑ์มูลค่ากำหนดตำแหน่งการจัดวางหน้าร้านให้กับสินค้าที่ถูกจัดอยู่ในกลุ่มเอและพัฒนาระบบการจัดการสินค้าคงคลังโดยเขียน VBA ทำงาน บน Microsoft excel เพื่อเป็นระบบฐานข้อมูลและการจัดเก็บข้อมูลจุดขาย เมื่อประยุกต์กับการปฏิบัตงานจริงและติดตามผล ซึ่งพบว่า มีสินค้าทั้งหมดจำนวน 2,936 รายการถูกจัดอยู่ในกลุ่ม A, B และ C จำนวน 74, 629 และ 2,233 รายการ ตามลำดับ คิดเป็นร้อยละ 20, 40 และ 40 ของจำนวน มูลค่าสินค้าทั้งหมด ตามลำดับ จากนั้นเลือกสินค้ากลุ่มเอจำนวน 74 รายการ มากำหนดขนาดพื้นที่ และตำแหน่งการจัดวางสินค้าหน้าร้านให้เหมาะสมอัตราการเคลื่อนไหวการประยุกต์ระบบจัดการสินค้าคงคลังเก็บข้อมูลจุดขายช่วยให้สามารถำหนดำนวนรอบการเติมสินค้าหน้าร้านได้อย่างเหมาะสม และทำให้การจัดการด้านการชำระเงินของลูกค้าทำได้โดยสะดวกรับรู้ปริมาณสินค้าคงคลังแต่ละรายการและมีข้อมูลปริมาณการขายของสินค้าแต่ละประเภทที่เที่ยงตรงซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการกำหนดแนวทางการจัดการที่ครอบคลุมยิ่งขึ้นต่อไป
dc.language.iso th
dc.publisher คณะโลจิสติกส์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject สินค้าคงคลัง
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
dc.title การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการสินค้าคงคลัง กรณีศึกษา ร้านสะดวกซื้อ
dc.title.alternative An efficiency improvement of inventory mngement: cse study of convenience store
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This research presents an efficiency improvement of inventory management for a case study convenient store having problems that stem from lacking of a suitable management system. The ABC analysis with valve of items was performed. The locations at the front store were determined and dedicated for items that categorized into class A. More importantly, the microsoft excel based Inventory Management System (IMS) was developed using with VBA to serve as a database and a point of sale (POS) systems. The ABC analysis indicated that there were 2,936 items of merchandises in the store. 74, 629 and 2,233 items were classified into class A, B and C, respectively. The first 74 items from class A were chosen and assigned to specific location at the front store based on their throughput rate. The implementation of the IMS led to more appropriate replenishment of items and convenience of customer checking out processes. The IMS also provides accurate information regarding all items carried by the store which would be very beneficial in establishing of the overall management system.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account