DSpace Repository

การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของประชาคมสัตว์หน้าดินและแพลงก์ตอนพืชบริเวณชายฝั่งชุมชนบ้านบางสะเก้า อำเภอแหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author เบ็ญจมาศ ไพบูลย์กิจกุล th
dc.contributor.author ชลี ไพบูลย์กิจกุล th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะเทคโนโลยีทางทะเล
dc.date.accessioned 2019-03-25T08:54:59Z
dc.date.available 2019-03-25T08:54:59Z
dc.date.issued 2553
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/1010
dc.description.abstract การศึกษาในครั้งนี้เพื่อศึกษาถึงองค์ประกอบ ชนิด ความหนาแน่น มวลชีวภาพ และดัชนีความหลากหลาย และความสมบูรณ์ ทั้งแพลงก์ตอนพืชและ macrofauna หน้าดินในบางสะเก้า, จังหวัดจ้นทบุรี โดยทำวิจัยในช่วงเดือนสิงหาคม 2551 ถึงมิถุนายน 2552 เก็บตัวอย่างแพลงก์ตอนพืชและสัตว์ทะเลหน้าดินทุก 2เดือน รวม 1 ปี สถานีเก็บตัวอย่างแพลงก์ตอนพืชและสัตว์หน้าดินมี 3 และ 2 สถานี ตามลำดับ ผลการศึกษาพบว่าแพลงก์ตอนพืช 63 สกุล โดยใน Division Chromophyta, Division Chlorophyta และ Division Cyanophyta พบ 49,11 และ 3 สกุล ตามลำดับ แพลงก์ตอนพืชสกุลเด่นในเกณฑ์ของความถี่ที่พบ และความหนาแน่นที่มากประกอบด้วยไดอะตอม ได้แก่ Cyclotella sp., Coscinodiscus sp., Pleurosigma sp., Navicula sp. และ Bacillaria sp. กลุ่มของไดอะตอมพบความหนาแน่นมากที่สุดในระหว่างการทดลอง ความหนาแน่น เฉลี่ยสูงสุดของแพลงก์ตอนพืชมี 299.35 หน่วย/ลิตร ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าในบริเวณปากแม่น้ำพบความหนาแน่นของแพลงก์ตอนพืชสูงสุด ดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพและดัชนีความสม่ำเสมอของแพลงก์ตอนพืชพบได้ระหว่าง 1.20 - 0.55 - 0.76 ตามลำดับ ความสัมพันธ์ระหว่างแพลงก์ตอนพืชและความเค็มในการศึกษาครั้งนี้มีความสัมพันธ์โดยตรงโดยความเค็มที่เพิ่มขี้นจะเพิ่มความหนาแน่นของแพลงก์ตอนพืช จากการศึกษาสัตว์หน้าดินพบว่ามีทั้งหมด 15 วงค์ จาก 5 ไฟลัม สัตว์หน้าดินที่พบเสมอ ได้แก่ ไส้เดือนทะเลในวงค์ Annelida, Arthropoda, Chordata, Mollusca and Platyhelminthes สัตว์ทะเลหน้าดินที่เป็นวงค์เด่น ได้แก่ Capitellidae บริเวณแถบด้านนอกที่ขนานกับร่องน้ำที่ไหลออกสู่ทะเลพบ จำนวนวงค์ที่พบและความหนาแน่นของสัตว์หน้าดินมากกว่าบริเวณด้านใน ความสัมพันธ์ระหว่างสารอินทรีย์ทั้งหมดและความหนาแน่นในการศึกษาครั้งนี้มีความสัมพันธ์โดยตรงโดยอินทรีย์วัตถุเพิ่มขึ้นรวมทั้งหมดจะเพิ่มความหนาแน่นของสัตว์ทะเลหน้าดิน ข้อมูลจากการศึกษานี้สรุปได้ว่าสัตว์ทะเลหน้าดินอาจจะนำไปใช้เป็น bioindicator ของระบบนิเวศป่าชายเลนเพื่อการจัดการป่าชายเลนและชุมชน th_TH
dc.description.sponsorship ทุนอุดหนุนการวิจัย ประจำปีงบประมาณ 2553 en
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การเปลี่ยนแปลงชายฝั่ง th_TH
dc.subject นิเวศวิทยาป่าชายเลน th_TH
dc.subject บ้านบางสะเก้า (จันทบุรี) th_TH
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะเทคโนโลยีทางทะเล - - วิจัย th_TH
dc.subject สัตว์หน้าดิน th_TH
dc.subject แพลงก์ตอนพืชทะเล th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title การเปลี่ยนแปลงแทนที่ของประชาคมสัตว์หน้าดินและแพลงก์ตอนพืชบริเวณชายฝั่งชุมชนบ้านบางสะเก้า อำเภอแหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี th_TH
dc.title.alternative Succession of benthods and phytoplankton communities at Ban Bang Sa Kao coast, Laem Singh, Chanthaburi province en
dc.type Research
dc.year 2553
dc.description.abstractalternative Species composition, density, biomass and index of diversity and richess both of phytoplankton and benthic macrofauna in Bang sa kaow, Chanthaburi provinces has been were researched during August, 2008 to June, 2009. Phytoplankton and benthos has been collected sampling every 2 month include 1 year. Station phytoplankton and benthos sampling has and 2 station, respectively. A total of 63 genera of phytoplankton were collected. The genera of phytoplankton in Division Chromophyta, Division Chlorophyta and Division Cyanophyta were founds 49, 11 and 3 genera, respectively. The dominant genera of phytoplankton in term of both frequency of occurrence and the abundance consisted of the diatom: Cyclotella sp., Coscinodiscus sp., Pleurosigma sp., Navicula sp., Nitzchia sp., and Bacillaria sp. The most abundant phytoplankton was diatom. The maximum average density of phytoplankton had 299.35 unit L-1. The result shown that in river mouth area found maximum density of phytoplankton. The biodiversity index and evenness index of phytoplankton founded during 1.20 - 2.12 and 0.55 - 0.76, respectively. Relationship between phytoplankton and salinity in this study has directly relationship by increased salinity will increased phytoplankton density. Fifteen families of 5 phyla were found in this study. The most common phyla were Annelida, Arthropoda, Chordata, Mollusca and Platyhelminthes. Families of Capitellidae were the most abundant. The outside area of channel, which flows parallel to the sea had more families and density of benthos than the inside area of channel. Relationship between total organic matter and density in this study has directly relationship by increased total organic matter will increased benthos density. Data from this study was concluded that the benthos could be applied as bioindicator of mangrove ecology in order to mangrove management and community. en


Files in this item

Files Size Format View

There are no files associated with this item.

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account