DSpace Repository

ความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานบริษัทเอาท์ซอร์ซแห่งหนึ่งในเขตบางกอกน้อยกรุงเทพมหานคร

Show simple item record

dc.contributor.advisor ปรัชนันท์ เจริญอาภรณ์วัฒนา
dc.contributor.advisor ระพิน ชูชื่น
dc.contributor.author ปุณยนุช อำนวยผล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2023-09-18T07:51:21Z
dc.date.available 2023-09-18T07:51:21Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.uri https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10106
dc.description วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2564
dc.description.abstract การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้กลยุทธ์ปรากฏการณ์ธรรมชาติวัตถุประสงค์ของการวิจัยในครั้งนี้เพื่อ1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานบริษัทเอาท์ซอร์ซแห่งหนึ่ง ในเขตบางกอกน้อยกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาและเสนอแนะแนวทางในการสร้างความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานบริษัทเอาท์ซอร์ซแห่งหนึ่ง ในเขตบางกอกน้อยกรุงเทพมหานครจากการทำการศึกษาผู้วิจัยได้ทำการสัมภาษณ์โดยผู้วิจัยได้ทำการคัดเลือกผู้ให้ข้อมูลคือระดับปฏิบัติงานในตำแหน่งเจ้าหน้าที่ระดับบริหาร ระดับหัวหน้างานและระดับปฏิบัติงาน รวม 15 คน ได้มาด้วยการใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบมีเกณฑ์โดยเริ่มจากการตั้งเกณฑ์ในการเลือกผู้ให้ข้อมูลร่วมกับทีมผู้ประสานงานของบริษัทเอ้าท์ซอร์ซและใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกกึ่งโครงสร้างผู้วิจัยใช้แบบฟอร์มแนวทางการสัมภาษณ์แล้วทำการถอดคำสัมภาษณ์แบบคำต่อคำออกมาเป็นเอกสาร เพื่อนำไปใช้ในการวิเคราะห์และนำเข้าโปรแกรมหลังจากการวิเคราะห์ Atlas.ti โดยผลการวิจัยพบว่า สิ่งที่เป็นปัญหาของ บริษัทเอ้าท์ซอร์ซซึ่งทำให้พนักงานไม่เกิดความรู้สึกผูกพันต่อองค์กร มีคำตอบ 3 ส่วนดังนี้ ได้แก่ 1) ความสัมพันธ์ในที่ทำงาน 2) พนักงานและลักษณะการดำเนินงานขององค์กร 3) ความจำเป็นของตัวพนักงานส่วนตัวแนวทางในการสร้างความผูกพันระหว่างพนักงานกับบริษัทเอ้าท์ซอร์ซเป็นอย่างไร ผลการวิจัยพบแนวทางในการสร้างความผูกพันระหว่างพนักงานกับบริษัทเอ้าท์ซอร์ซ ครั้งนี้แบ่งเป็น 2 ส่วน ได้แก่ 1) การสร้างความผูกพันที่ดีของพนักงานต่อคุณภาพชีวิตในการทำงาน 2) การสร้างความผูกพันที่ดีของพนักงานต่อบริษัทเอาท์ซอร์ซ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าทุกฝ่ายต้องทำเพื่อให้การสร้างความผูกพันระหว่างกันประสบความสำเร็จด้วยดีแบ่งออก 3 ส่วน ได้แก่ 1) แนวทางในการเสริมสร้างพฤติกรรมที่ดีของพนักงานของตัวพนักงานเอง 2) ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์สร้างความเชื่อมั่นให้กับพนักงานบริษัทเอาท์ซอร์ซ 3) องค์กรสร้างแนวทางในการเสริมสร้างความมั่นคงให้กับพนักงานบริษัทเอาท์ซอร์ซ
dc.language.iso th
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.rights มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.subject ความผูกพันต่อองค์การ
dc.subject มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
dc.subject พนักงานบริษัท
dc.title ความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานบริษัทเอาท์ซอร์ซแห่งหนึ่งในเขตบางกอกน้อยกรุงเทพมหานคร
dc.title.alternative Employee enggement of employees in n outsourcing compny in bngkok noi district, bngkok
dc.type วิทยานิพนธ์/ Thesis
dc.description.abstractalternative This research was qualitative research by using the phenomenological research strategy. The purposes of this research were 1) to study the problem of employee engagement of employees in an outsourcing company in Bangkok Noi district, Bangkok, 2) to study and guidelines concerning employee engagement in an outsourcing company in Bangkok Noi district, Bangkok. From this study, the researcher did interview informants from practitioner level, executive, supervisor, and operational staff in a total of 15 people by criterion sampling. Starting with a selection of informants in conjunction with the outsourcing company coordinator and use the semi-structured in-depth interview. The researcher used the interview guide form by documented speech to word transcription to analyzed by the ATLAS.ti program. The research results revealed that the main problem of employee engagement in an outsourcing company had three answers as follows; 1) Relationship in the workplace, 2) Employee and work characteristics, 3) Employee personal necessary. The guidelines concerning employee engagement found that there were two sections to build the relationship between employees and the company were 1) Building a good relationship among employees with their quality of work-life, 2) Building a good relationship among the outsourcing company. The analysis of the data showed that all parties must do in order to create an employee engagement successfully by divided into three sections were 1) Guideline for promoting good behavior among employees, 2) Human Resource Development should build the confidence for employees in an outsourcing company, 3) The company creates guidelines to strengthening the stability of employees in an outsourcing company.
dc.degree.level ปริญญาโท
dc.degree.discipline การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
dc.degree.grantor มหาวิทยาลัยบูรพา


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account