dc.contributor.advisor |
รังสฤษฏ์ จำเริญ |
|
dc.contributor.advisor |
นภพร ทัศนัยนา |
|
dc.contributor.advisor |
ประวิทย์ ทองไชย |
|
dc.contributor.author |
สืบสกุล ใจสมุทร |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา |
|
dc.date.accessioned |
2023-09-18T07:51:12Z |
|
dc.date.available |
2023-09-18T07:51:12Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10068 |
|
dc.description |
ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยและพัฒนามีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างทดลองใช้ และประเมินรูปแบบการผสมผสานการจัดการความรู้และชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาผู้ฝึกสอนในโรงเรียนกีฬา โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน นำข้อมูลที่ได้ไปสร้างรูปแบบ และจึงนำไปยืนยันรูปแบบที่ได้จากสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 6คน เพื่อยืนยันว่ารูปแบบสามารถนำไปทดลองใช้ได้จริง หลังจากนั้นนำรูปแบบไปทดลองใช้กับผู้ฝึกสอนในโรงเรียนกีฬาจังหวัดตรังเป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ พร้อมทั้งประเมินรูปแบบโดยใช้ CIPP model และประเมินความพึงพอใจของนักกีฬาที่มีต่อผู้ฝึกสอนหลังทดลองใช้รูปแบบผลการวิจัยพบว่า ผลจากการสร้างรูปแบบการผสมผสานการจัดการความรู้และชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาผู้ฝึกสอนในโรงเรียนกีฬา มีความเหมาะสมและความเป็นไปได้ ในการนำไปปฏิบัติประกอบด้วย การทำงาน 4 ด้าน ตาม PIER model คือ 1) วางแผน 2) การนำไปปฏิบัติ 3) ประเมินผล 4) สะท้อนผล โดยมีกระบวนการ 5 ขั้นตอน คือ 1) รวมกลุ่ม ผู้ฝึกสอนกีฬา จำนวน 4-8 คน แต่งตั้งคณะกรรมการประจำกลุ่ม กำหนดวิสัยทัศน์พันธกิจและวัตถุประสงค์ 2) ค้นหาปัญหาและสิ่งที่ต้องการพัฒนาร่วมกันจัดลำดับของปัญหาและสิ่งที่ต้องการพัฒนานำเสนอ สาเหตุที่มาของปัญหากำหนดแนวทางในการแก้ปัญหาจากสาเหตุที่มาของปัญหา 3) ออกแบบกิจกรรมการแก้ปัญหาร่วมกันออกแบบกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหา 4) การนำไปสู่การปฏิบัติและประเมินผล นำกิจกรรมไปทดลองใช้และประเมินผล 5) สะท้อนผลร่วมกัน สรุป วิพากษ์ และอภิปรายผล จากการนำไปทดลองใช้ด้วยวิธีการทบทวนผลหลังปฏิบัติงาน (AAR: After action review) โดยมีกระบวนการจัดการความรู้สอดแทรกอยู่ทุกกระบวนการ 3 ขั้นตอน คือ 1) การแสวงหาความรู้ 2) การจัดเก็บความรู้ 3) การแลกเปลี่ยนแบ่งปันความรู้ผลจากการทดลองใช้รูปแบบทำให้ทราบถึงการทำงานตามกระบวนการในคู่มือการใช้รูปแบบของผู้ฝึกสอน ผลจากการประเมินรูปแบบ พบว่า ผู้ฝึกสอนมีความคิดเห็นในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.54 และนักกีฬามีความพึงพอใจต่อกระบวนการจัดการเรียนการสอนของผู้ฝึกสอนหลังทดลองใช้รูปแบบอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.55 |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
บุคลากรทางการกีฬา |
|
dc.subject |
ผู้ฝึกกีฬา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา |
|
dc.subject |
วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก |
|
dc.title |
รูปแบบการผสมผสานการจัดการความรู้และชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อพัฒนาผู้ฝึกสอนในโรงเรียนกีฬา |
|
dc.title.alternative |
Integrted model of knowledge mngement nd professionl lerning community for developing coches in sport schools |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
The research and development; R&D was objected to created, experimented, and evaluate the integrated model of knowledge management (KM) and professional learning community (PLC) for developing coaches in sport schools by using in depth interview with 9 experts to determine the model. The use of the model was confirmed by 6 experts and then, the model was experimented with coaches in sport schools of Trang province for 8 weeks. The CIPP model was used to evaluate the PIER model, and then to evaluate the athletes’ satisfaction on the coach after experimenting the model. The results of the research revealed that the integrated model of knowledge management (KM) and professional learning community (PLC) for developing coaches in sport schools consists of 4factors (PIER Model) that are: 1) plan 2) implement 3) evaluate and 4) reflect. Each of the 4 factors composes of 5 steps process: 1) grouping of 4-8 coaches: dominate the committees, establish the vision, mission and objectives; 2) identifying the problem and the needs: identify problems and the need to be developed and then prioritize them; 3) designing activities to solve problems: coaches jointly design activities to solve problems; 4) implementing and evaluating: coaches experiment and evaluate the activities; and 5) reflexing: coaches jointly criticize, discuss, conclude and evaluate the result using After Action Review (AAR). There was KM integrated in every process which consists of 3 steps: 1) knowledge acquisition 2) knowledge organization and 3) knowledge sharing. The result of experiment using the model showed the steps of operation process according to coaches’ manual. The coaches and athletes’ opinion evaluation after using the model found that the coaches’ satisfaction was at the highest level, (mean= 4.54), and the athletes’ satisfaction of coaches process after using model was at the highest level (mean =4.55). |
|
dc.degree.level |
ปริญญาเอก |
|
dc.degree.discipline |
วิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา |
|
dc.degree.name |
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|