dc.contributor.advisor |
นภพร ทัศนัยนา |
|
dc.contributor.advisor |
สันติพงษ์ ปลั่งสุวรรณ |
|
dc.contributor.advisor |
ประวิทย์ ทองไชย |
|
dc.contributor.author |
สัคคยศ สังขพันธ์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา |
|
dc.date.accessioned |
2023-09-18T07:51:12Z |
|
dc.date.available |
2023-09-18T07:51:12Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10066 |
|
dc.description |
ดุษฎีนิพนธ์ (ปร.ด.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างรูปแบบการบริหารจัดการการท่องเที่ยวกีฬาดำน้ำตามแนวคิดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของชุมชนท้องถิ่นตามองค์ประกอบการท่องเที่ยวและผลิตภัณฑ์ กีฬาดำน้ำ และองค์ประกอบการพัฒนาการท่องเที่ยวแบบยั่งยืนด้วยกระบวนการบริหารจัดการ POLC โดยกระบวนการวิจัยแบบเดลฟายประยุกต์ ผลการศึกษาพบว่า 1) ด้านการวางแผน (Planning) 5 องค์ประกอบ คือ จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม จัดการทรัพยากรบุคคล พัฒนาบริการและการตลาด พัฒนาชุมชนท่องเที่ยวแบบมีส่วนร่วมและจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว 2) ด้านการจัดการองค์กร (Organizing) 10 องค์ประกอบ คือ กรมการท่องเที่ยวออกแบบโปรแกรมอุทยานแห่งชาติดูแลกิจกรรม สำนักงานการท่องเที่ยวพัฒนาคน หน่วยกู้ภัย ตำรวจน้ำ ตำรวจภูธรและองค์กรบริหารส่วนตำบลดูแลความปลอดภัย กรมเจ้าท่าดูแลเรือ ตำรวจท่องเที่ยวตรวจมัคคุเทศก์ องค์การบริหารส่วนจังหวัด ผู้ประกอบการจัดเตรียมสิ่งอำนวยสะดวก องค์การบริหารส่วนตำบลและโรงพยาบาลดูแลสุขภาพ นักท่องเที่ยว เครือข่ายในท้องถิ่นกำหนดมาตรฐานบริการ มัคคุเทศก์และครูสอนดำน้ำออกแบบกิจกรรม แนะนำให้เคารพกติกาการใช้ทรัพยากร 3) ด้านการนำ (Leading) 13 องค์ประกอบ คือ สนับสนุนงบประมาณ เจ้าหน้าที่และอุปกรณ์ กำหนดอัตราค่าธรรมเนียมที่เหมาะสมนำไปฟื้นฟูทรัพยากรออกกฎหมายและบังคับใช้เปิดหลักสูตรทางการศึกษาให้กับคนในพื้นที่วางผังเมือง นำนักท่องเที่ยวส่งถึงชุมชน ออกแบบโปรแกรม วางกลไกให้ชุมชนเข้าถึงการท่องเที่ยว ทำข้อตกลงการใช้ประโยชน์ในพื่นที่และดูแลรักษา สร้างความเข้าใจเรื่องกฎหมายมาตรฐานและแนวปฏิบัติ รับฟังปัญหาแก้ไขความไม่สะดวก ส่งเสริมการรวมกลุ่ม เตรียมบริการและอุปกรณ์ที่ได้มาตรฐานให้มีมัคคุเทศก์ในการทำกิจกรรมทุกครั้ง 4) ด้านการควบคุม (Controlling) 7 องค์ประกอบ คือ เปิดปิดฤดูกาลการท่องเที่ยว แบ่งพื้นแหล่งดำน้ำจำกัดจำนวนนักท่องเที่ยว ติดตั้งทุ่นสอดส่องดูแลบังคับใช้กฏหมาย ควบคุมมาตรฐานการให้บริการ บริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
การท่องเที่ยวโดยชุมชน -- สตูล |
|
dc.subject |
การท่องเที่ยวเชิงกีฬา |
|
dc.subject |
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว |
|
dc.subject |
วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา |
|
dc.title |
รูปแบบการบริหารจัดการการท่องเที่ยวกีฬาดำน้ำตามแนวคิดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนของชุมชนท้องถิ่น |
|
dc.title.alternative |
A mngement model for diving sport tourism coresponds to locl community sustinbility |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
This study aims to propose a model for sport diving based on the concept of sustainable tourism of local communities. The model includes sport diving and equipment element and the sustainable tourism development elements following the principles of management (POLC), using the Delphi technique. As for planning, natural resources and environmental management, human resource management, service development and marketing, participatory community-based tourism development, and activities to promote tourism are five elements. As for organizing, 10 offices and individuals should be involved. The Department of Tourism is responsible for designing campaigns. The Department of NationalPark, Wildlife and Plant Conservation supervises tourism activities. The Office of Tourism develops people’s skills. The Rescure Unit, marine police, provincial police and the Subdistrict Administration Organization (SAO) ensure safety. The Marine Department check boats. Tourist police check tourist guides. The Provincial Administration Organization (PAO) and tourism businesses provide facilities. The SAO collaborates with hospitals to provide health services to tourists. The tourism networks in communities establish a service standard. Tour guides and dive instructors design activities and ensure their customers obey rules about natural resource. As for leading, 13 elements are vital. Budgets, staffs and equipment should be provided. Suitable entrance fees should be set for conservation. Lawmaking and enforcement should be imposed. New curricula should be provided for locals. Urban planning should be devised. Transport to communities should be provided for tourists. Tourism mechanism should be established for communities’ access. An agreement on resource use and conservation should be reached. Related laws, standards and practices should be introduced to involved sectors to ensure their understanding. Public hearing on resource use should be conducted. Assembling of tourism groups should be promoted. Standard services and equipment should be provided. Tour guides should be present in diving activities. As for controlling, seven elements are required: opening and closing the tourist season; setting dive sites; limiting the number of tourists; setting up buoys; enforcing laws; maintaining standard services; managing community enterprise. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาเอก |
|
dc.degree.discipline |
วิทยาศาสตร์การออกกำลังกายและการกีฬา |
|
dc.degree.name |
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|