dc.contributor.advisor |
ธนาวุฒิ ลาตวงษ์ |
|
dc.contributor.advisor |
สมศิริ สิงห์ลพ |
|
dc.contributor.author |
ธนัชชา นวนกระโทก |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2023-09-18T07:44:04Z |
|
dc.date.available |
2023-09-18T07:44:04Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/10048 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (กศ.ม.)--มหาวิทยาลัยบูรพา, 2563 |
|
dc.description.abstract |
ระบบลีนถูกนำมาใช้ในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนให้องค์กรสามารถขจัดความสูญเปล่าที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิต การขนส่งและการใช้ทรัพยากรให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ส่งผลให้เกิดการลดต้นทุน การเพิ่มผลิตภาพการผลิต ความสามารถในการแข่งขันและความยั่งยืนขององค์กรในปัจจุบันมีการพัฒนาระบบลีน 4.0 ขึ้น โดยปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาระบบ ได้แก่ การกำหนดนโยบายการสนับสนุนและติดตามผลจากผู้บริหาร รวมทั้งการสร้างบุคลากรที่มีความรู้ และวัฒนธรรมองค์กรแห่งลีน งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันของปัจจัยสนับสนุนภายในองค์กรที่มีอิทธิพลต่อความสำ เร็จของระบบลีน 4.0 และ 2) ตรวจสอบและนำเสนอโมเดลเชิงสาเหตุของปัจจัยสนับสนุนภายในองค์กรที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จของการทำระบบลีน 4.0 ในอุตสาหกรรมยานยนต์ในพื้นที่โครงการเขตพัฒนาพิเศษ ภาคตะวันออกกลุ่มตัวอย่าง คือ พนักงานในโรงงานอุตสาหกรรมยานยนต์ที่มีการทำระบบลีนหรือ ลีน 4.0 จำนวน 240 คน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบใช้วิจารณญาณ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และโมเดลสมการโครงสร้างผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยสนับสนุนภายในองค์กรที่มีอิทธิพลสูงสุด ได้แก่ การฝึกอบรมและถ่ายทอดความรู้ (TR) ส่วนปัจจัยความสำเร็จในการทำระบบลีน 4.0 ที่ได้รับอิทธิพลสูงสุด คือ การลดต้นทุนขององค์กร (CR) จากการวิเคราะห์โมเดลเชิงสาเหตุพบว่า ปัจจัยสนับสนุนภายในองค์กรที่มีอิทธิพลต่อความสำ เร็จของการทำระบบลีน 4.0 ในอุตสาหกรรมยานยนต์ในพื้นที่โครงการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มีความ สอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ซึ่งผู้ประกอบการสามารถนำผลการวิจัยนี้เป็นแนวทางในการจัดลำดับความสำคัญเพื่อดำเนินงานตามแนวคิดของระบบลีนให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น |
|
dc.language.iso |
th |
|
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.rights |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
มหาวิทยาลัยบูรพา -- สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์ |
|
dc.subject |
ชีววิทยา -- การศึกษาและการสอน |
|
dc.subject |
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน |
|
dc.title |
ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้วัฎจักรการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น (5Es) ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิคจิ๊กซอว์ II เรื่องยีนและโครโมโซมที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาพฤติกรรมการทำงานกลุ่มและจิตวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 |
|
dc.title.alternative |
The effects of 5es inquiry cycle with coopertive lerning with jigsw ii technique in chromosome nd genetic mteril on biologicl lerning chievement, group working behviors nd scientific mind of tenth grde students |
|
dc.type |
วิทยานิพนธ์/ Thesis |
|
dc.description.abstractalternative |
Lean system is implemented in the organization in order to get rid of wastes of production process, delivery, and to utilize all resources for maximize operational efficiency that will affect the cost reduction, productivity improvement, cost competitiveness and organizational sustainability. Nowadays, Lean system is leveled up to Lean 4.0. The factors that affected to Lean 4.0 development were policy setting, supporting and monitoring from management level, including human resources developing for lean knowledge and lean organizational culture. The purposes of this research were to study 1) the influence of the internal supporting factors to the success of Lean 4.0 and 2) investigating the consistency of the causal model and provides a causal model of internal supporting factors influencing the success of Lean 4.0 in the automotive industry. This research was conducted in the automotive industries implementing Lean or Lean 4.0 and located in the Eastern Economic Corridor. 240 operators working in automotive industries were sampled by judgment sampling technique. Data were analyzed by confirmatory factor analysis and structural equation model. The study results revealed that the highest influencing of internal supporting factor was training and knowledge transfer (TR), and the highest influenced success of Lean 4.0 was cost reduction (CR). According to a casual model analysis, it was found that the model was consistent with empirical data. The results of the research are helpful for the entrepreneurs to prioritize the steps of lean implementation in order to operate Lean system efficiently. |
|
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
|
dc.degree.discipline |
การสอนวิทยาศาสตร์ |
|
dc.degree.name |
การศึกษามหาบัณฑิต |
|
dc.degree.grantor |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
|