กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/17457
ชื่อเรื่อง: การแพร่กระจาย และความชุกชุมของแพลงก์ตอนพืชบริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ปี 2547
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ธิดารัตน์ น้อยรักษา
อัจฉรี ฟูปิง
อภิรดี หันพงศ์กิตติกูล
คำสำคัญ: ชายฝั่ง -- ไทย (ภาคตะวันออก)
แพลงค์ตอนพืช -- ไทย (ภาคตะวันออก)-- วิจัย
แพลงค์ตอนพืชทะเล -- ไทย (ภาคตะวันออก)-- วิจัย
วันที่เผยแพร่: 2548
สำนักพิมพ์: สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา
บทคัดย่อ: แพลงก์ตอนพืชในบริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ได้ทำการศึกษาจำนวน 76 สถานี ระหว่างฟดูแล้ง (มีนาคม 2547) และฤดูฝน (สิงหาคม 2548) พบแพลง์ตอนพืช 98 สกุล ประกอบด้วย แพลงก์ตอนพืชสีเขียวแกมน้ำเงิน 7 สกุล แพลงก์ตอนพืชสีเขียว 9 สกุล ไดอะตอม 65 สกุล แพลงก์ตอนพืชสีน้ำตาลทอง 1 สกุล ซิลิโคแฟลกเจลเลต 1 สกุล และไดโนแฟลกเจลเลต 15 สกุล สุกลที่แพร่กระจายสูง ได้แก่ Bacteriastrum spp. Chaetoceros spp. Coscinodiscus spp. Cylindrotheca sp. Navicula spp. Pleurosigma spp. และ Thalassiosira spp. ตามลำดับ Skeletonema sp. มีปริมาณเซลล์สุงสุดทั้งสองฤดูกาล ดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ของฤดูแล้ง และฤดูฝนมีค่าอยู่ระหว่าง 0.09-2.49 และ 0.27-2.54 ตามลำดับ คุณภาพน้ำที่มีอิทธิพลต่อโครงสร้างสังคมแพลงก์ตอนพืชมากที่สุดคือ ความเค็ม รองลงมา คือ ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ำ ความโปร่งแสงและความเป็นกรด-ด่าง ตามลำดับ
รายละเอียด: ภายใต้แผนงานวิจัยเรื่อง การศึกษาสภาวะแวดล้อมทางทะเลบริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก ปี 2547
URI: https://buuir.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/17457
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:รายงานการวิจัย (Research Reports)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
2568-213.pdf2.29 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น